สื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ Production of Motion Infographic “HIV is not the AIDS” นายรัชชานนท์ อภิญญารุ่งพิทยา รหัสประจาตัว 574265119 หมู่เรียน 57/33 โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา 7134902 โครงงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 สื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ Production of Motion Infographic “HIV is not the AIDS” นายรัชชานนท์ อภิญญารุ่งพิทยา รหัสประจาตัว 574265119 หมู่เรียน 57/33 โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา 7134902 โครงงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โครงงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง สื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ ได้ รั บ พิ จ ารณาให้ นั บ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต ร วิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า เทคโนโลยีสารสนเทศ (เทคโนโลยีมัลติมีเดีย) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 วัน/เดือน/ปี 22 เมษายน 2562 ............................................. (นายรัชชานนท์ อภิญญารุ่งพิทยา) ผู้จัดทา ............................................. (อาจารย์สมจินต์ จันทรเจษฎากร) ประธานกรรมการสอบ ............................................. (อาจารย์ ดร.ปริพัส ศรีสมบูรณ์) กรรมการสอบ ............................................. (อาจารย์ศุภกฤษ นาคป้อมฉิน) กรรมการสอบ ............................................. (อาจารย์สุขสวัสดิ์ แซ่ลิ่ม) กรรมการสอบ ............................................. (อาจารย์พิชยา สุขปลั่ง) อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ............................................. (อาจารย์แก้วใจ อาภรณ์พิศาล) ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ก หัวข้อโครงงาน สื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ Production of Motion Infographic “HIV is not the AIDS” ผู้จัดทา นายรัชชานนท์ อภิญญารุ่งพิทยา อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์พิชยา สุขปลั่ง ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ (เทคโนโลยีมัลติมีเดีย) ภาคเรียนที่/ปีการศึกษา 1/2561 บทคัดย่อ สื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์มีความยาว 8.05 นาที ใช้กระบวนการ 3P ในการผลิ ต ประกอบด้ ว ย 1) Pre-Production - ก่ อ นการผลิ ต 2) Production - การผลิ ต และ 3) Post-Production - หลังการผลิต โดยมีเนื้อหาแบ่งได้เป็น 5 ประเด็น คือ 1) ความแตกต่างระหว่างเอชไอ วีและเอดส์ 2) ช่องทางการติดต่อและพฤติกรรมที่เสี่ยงและพฤติกรรมที่ไม่เสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี 3) การ ดูแลและป้องกันตนเองไม่ให้ติดเชื้อเอชไอวี 4) วิธีการตรวจเอชไอวีแบบต่าง ๆ และ 5) ประเภทของยาต้าน ไวรัสแบบต่าง ๆ ทั้งนี้เนื่องจากเทคนิคการออกแบบโมชันอินโฟกราฟิกที่มีความน่าสนใจ ประกอบกับเทคนิค การเคลื่อนไหวทาให้เกิดความโดดเด่น และยังมีเนื้อหาที่กระชับดูเข้าใจง่าย ในการพัฒนาสื่อได้รับคาแนะนา ทั้งจากผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์ที่ปรึกษา แล้วน าสื่อที่ แก้ไขปรับปรุงแล้ว ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความ ถูกต้องอีกครั้ง ผลการทาแบบทดสอบก่อนชมสื่อของนักศึกษากลุ่มเป้าหมายจานวน 100 คน พบว่ากลุ่มเป้าหมาย สามารถตอบคาถามถูกต้องได้คะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 34% ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.45 และผลการทาแบบ ทอสอบหลั งชมสื่ อนั กศึ กษากลุ่ มเป้ าหมายตอบค าถามถู กต้ องได้ คะแนนเฉลี่ ยที่ 82% ส่ วนเบี่ ยงเบน มาตรฐานอยู่ที่ 0.39 ซึ่งผลการทาแบบทดสอบหลังจากกลุ่มเป้าหมายได้รับชมสื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์แล้วสามารถตอบคาถามถูกต้องเพิ่มจากแบบทดสอบก่อนชมสื่อขึ้นคิดเป็น 48% ผลการศึกษาความพอใจพึงพอใจในการรับชมสื่อโมชชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ ในจากกลุ่มเป้าหมายคือนักศึกษาจานวน 100 คน โดยรวมแล้วพบว่านักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด ที่คา่ เฉลี่ย 4.58 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.43 ผลการประเมินคุณภาพสื่อโมชันอินโฟกราฟิกโดยผู้เชี่ยวชาญ 10 ท่านพบว่า คุณภาพด้านคุณภาพ ของเนื้อหาอยู่ในระดับมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.11 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.67 ผลการประเมินด้านความ เหมาะสมในการออกแบบอยู่ในระดับมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.23 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.77 และเมื่อ พิจารณาผลการประเมินคุณภาพสื่อโมชันอินโฟกราฟิกโดยผู้เชี่ยวชาญ ในภาพรวมแล้วพบว่าอยู่ในระดับ มาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.17 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.72 ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานสื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีเพราะได้รับ ความกรุณาและอนุเคราะห์เป็นอย่างดีจากท่านอาจารย์พิชยา สุขปลั่ง ที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ในแต่ละขั้นตอนของการจัดทาโครงงาน ผู้พัฒนาสื่อตระหนักถึง ความตั้งใจจริงของท่านอาจารย์ที่พร้อมสละเวลา คอยติดตามการทางาน ทาให้เป็นแรงผลักดันที่จะพัฒนา โครงงานให้สาเร็จลุล่วง จึงกราบขอบพระคุณท่านอาจารย์เป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณ คุณธัญรดา แก้วทิตย์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ ผู้รับผิดชอบงานเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ฝ่ายควบคุมโรคติดต่อ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม สานักงาน ปลั ดกระทรวงสาธารณสุ ข รวมทั้ งบุ คลากรประจ าฝ่ ายควบคุ มโรคติ ดต่ อทุ กท่ าน ขอขอบพระคุ ณ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ชาญชัย สุชาติวัฒนชัย ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ขอขอบพระคุณ คุณรวีวรรณ พงศ์พุทธชาติ พยาบาลวิชาชีพ ชานาญการ ผู้ประสานงานเอดส์คลินิกยาต้านไวรัส โรงพยาบาลโพธาราม ตลอดจนแพทย์ พยาบาล และ เภสัชกรโรงพยาบาลโพธาราม รวมถึงผู้เชี่ยวชาญทุก ๆ ท่านที่ได้ให้ความอนุ เคราะห์ เป็ นผู้ เชี่ยวชาญ แนะนา แก้ไขและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และสื่อโมชันอินโฟกราฟิก มีความถูกต้องสมบูณ์ อีกทั้งยังได้ให้กาลังใจ รวมถึงได้อนุเคราะห์มอบสื่อสิ่งพิมพ์ โปสเตอร์ ที่สามารถนาข้อมูลไปใช้ต่อยอดได้ จึงขอขอบพระคุณทุก ๆ ท่านมา ณ ที่นี้ โครงงานนีจ้ ะไม่อาจสาเร็จลุล่วงไปได้เลย หากไม่ได้รับความกรุณาให้คาแนะนาจากท่าน อาจารย์ วิน วารินทร์ วิทยากรอบรมหลักสูตรการออกแบบให้กับบริษัท (มหาชน) หลายแห่ง จากสถาบันสอนกราฟิก Motion Graphic Plus ที่ได้สอนเทคนิค แนวคิด วิธีการใช้งาน และการออกแบบที่ดีและเป็นมืออาชีพ อีกทั้ง ยังได้สละเวลาเพื่อให้คาแนะนา ตอบคาถาม เมื่อติดขัดปัญหาบางอย่าง ส่งผลให้สามารถพัฒนาสื่อโมชัน อินโฟกราฟิกออกมาได้น่าสนใจ ขอขอบคุณ บริษัท ดีบี ดี ไซน์ จากัด ที่ให้ความอนุเคราะห์และอนุญาตให้ ใช้ แบบอั กษรชุ ด DB Adman X และ DB Helvethaica X Mon เพื่ อประกอบการผลิ ตสื่ อโมชั นอิ นโฟ กราฟิกในครั้งนี้ โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ผู้พัฒนาสื่อจึงขอขอบพระคุณอย่างสูง ขอขอบคุ ณเพื่ อน ๆ ทุ กคน ตลอดจนผู้ มี ส่ วนเกี่ ยวข้ องทุ กท่ าน ขอขอบคุ ณผู้ ปกครองที่ ไ ด้ สนับสนุนทุนทรัพย์ในระหว่างการทาโครงงาน และขอขอบคุณผู้รับชมสื่อทุก ๆ ท่านที่สละเวลาและให้ ความร่วมมือทาแบบทอสอบ และแบบสอบถามความพึ งพอใจ ผู้พัฒนาสื่อยินดีรับฟังค าแนะน าจาก ทุกท่าน และยินดีน้อมรับคาติชมต่าง ๆ เพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาสื่อในโอกาสต่อไป นายรัชชานนท์ อภิญญารุ่งพิทยา 22 เมษายน 2562 ค สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง จ สารบัญภาพ ฉ บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ 4 1.3 ขอบเขตของงานวิจัย 4 1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 5 1.5 ระยะเวลาดาเนินงาน 6 บทที่ 2 หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 7 2.1 เชื้อไวรัสเอชไอวี 7 2.2 โรคเอดส์ 16 2.3 องค์ความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 20 2.4 โปรแกรมที่ใช้ในโครงงาน 51 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 54 บทที่ 3 วิธีดาเนินงาน 57 3.1 Pre-Production (ขั้นตอนการเตรียมการผลิต) 57 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 58 3.3 วิเคราะห์โมชันอินโฟกราฟิก 62 3.4 เขียนโครงเรื่องโมชันอินโฟกราฟิก 62 3.6 การออกแบบลาดับภาพ (Storyboards) 73 3.7 Production (ขั้นตอนการผลิต) 86 3.8 Post-Production (ขั้นตอนหลังการผลิต) 86 3.9 การเก็บรวบรวมข้อมูล 86 ง สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 4 ผลการศึกษา 87 4.1 ลักษณะทั่วไปของโครงงานที่พัฒนา 87 4.2 การออกแบบสื่อโมชันอินโฟกราฟิก 88 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 108 5.1 สรุปผลการดาเนินงาน 108 5.2 ปัญหาและข้อจากัด 110 5.3 แนวทางการนาไปใช้ 112 5.4 ข้อเสนอแนะ 113 บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก คู่มือวิธีใช้งานวิจัยสื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ ภาคผนวก ข งานวิจัยสื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ งานการประชุม วิชาการระดับชาติ การจัดการเทคโนโลยีปลพนวัตกรรม ครั้งที่ 5 ภาคผนวก ค แบบสอบถามเพื่อประเมินคุณภาพสื่อโมชั นอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไ ม่ เท่ากับเอดส์ ประวัติผู้พัฒนาสื่อ จ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 1.1 แสดงโอกาสการติดเชื้อเอชไอวี (Risk of getting HIV) 3 ตารางที่ 1.2 แสดงระยะเวลาการดาเนินงานทั้งหมดของโครงการ 6 ตารางที่ 3.1 แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจของผู้รับชมสื่อ 58 ตารางที่ 3.2 โครงเรื่องขยาย (Treatment) 62 ตารางที่ 3.3 บทโมชันอินโฟกราฟิก (Screenplay) 66 ตารางที่ 3.4 ออกแบบลาดับภาพ หรือ Storyboards 73 ตารางที่ 4.1 ภาพหน้าจอของสื่อโมชันอินโฟกราฟิก - Screenshot 88 ตารางที่ 5.1 ผลการทาแบบทดสอบก่อนชมสื่อจากกลุ่มนักศึกษาจานวน 100 คน 108 ตารางที่ 5.2 ผลการทาแบบทดสอบหลังชมสื่อจากกลุ่มนักศึกษาจานวน 100 คน 109 ตารางที่ 5.3 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อผู้รับชมสื่อโมชชันอินโฟกราฟิก 110 ตารางที่ 5.4 ผลการประเมินคุณภาพสื่อโมชันอินโฟกราฟิกโดยผู้เชี่ยวชาญจานวน 10 ท่าน 111 ฉ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 1.1 แผนภูมิอัตราผู้ติดเชื่อ HIV ใหม่ 2 ภาพที่ 1.2 สัดส่วนคาดการณ์ของผู้ติดเชื้อรายใหม่ในแต่ละกลุ่มคนระหว่างปี พ.ศ.2558-2562 2 ภาพที่ 2.2 ข้อความในโปรแกรม Notepad และ Microsoft Word 20 ภาพที่ 2.3 ภาพนิ่งที่ถ่ายจากกล้อง Canon EOS 80D 21 ภาพที่ 2.4 แสดงแอนิเมชันการเคลื่อนไหวของเด็กชาย 22 ภาพที่ 2.5 วิดีโอที่เปิดด้วยโปรแกรม Windows Media Player 23 ภาพที่ 2.6 เปรียบเทียบอัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐานต่าง ๆ 26 ภาพที่ 2.7 แสดงลักษณะของ HDTV แบบ 1080p 27 ภาพที่ 2.8 มาตรฐานโทรทัศน์ระบบดิจิทัล และการใช้งานทั่วโลก 29 ภาพที่ 2.9 Test Card ของระบบโทรทัศน์แบบ NTSC 30 ภาพที่ 2.10 Test Card PAL plus ของระบบโทรทัศน์แบบ PAL 30 ภาพที่ 2.11 ภาพ test TV screen ของระบบโทรทัศน์แบบ SECAM 31 ภาพที่ 2.12: ตัวอย่างอินโฟกราฟิก 32 ภาพที่ 2.13 อินโฟกราฟิก เรื่อง หลักการออกแบบอินโฟกราฟิก 33 ภาพที่ 2.14 ตัวอย่างลักษณะของอินโฟกราฟิก 36 ภาพที่ 2.15 ตัวอย่างอินโฟกราฟิก Choose Attractive Colors. 37 ภาพที่ 2.16 โมชันกราฟิก 38 ภาพที่ 2.17 ระบบสีแบบ RGB และ CMYK 40 ภาพที่ 2.18 ระบบสี HSB 41 ภาพที่ 2.19 ระบบสี LAB 42 ภาพที่ 2.21 สีขั้นที่ 1 43 ภาพที่ 2.22 สีขั้นที่ 2 43 ภาพที่ 2.23 สีขั้นที่ 3 44 ภาพที่ 2.24 การใช้สีในงานออกแบบ 46 ภาพที่ 2.25 ตัวอย่างภาพในสตอรี่บอร์ดเแบบลายเส้นด้วยดินสอ 47 ภาพที่ 2.26 แบบฟอร์มการเขียนสตอรี่บอร์ดแบบที่ 1 49 ภาพที่ 2.27 แบบฟอร์มการเขียนสตอรี่บอร์ดแบบที่ 2 49 ภาพที่ 2.28 แบบฟอร์มการเขียนสตอรี่บอร์ดแบบที่ 3 50 ช สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า ภาพที่ 2.29 ตัวภาพในสตอรี่บอร์ดแบบลงสี 50 ภาพที่ 2.30 โปรแกรม Adobe Illustrator CC 2019 51 ภาพที่ 2.31 โปรแกรม Adobe After effects CC 2019 52 ภาพที่ 2.32 โปรแกรม Adobe Audition CC 2019 53 ภาพที่ 3.1 การออกแบบสื่อโมชันอินโฟกราฟิกด้วยโปรแกรม Adobe After Effect CC 86 ภาพที่ ก-1 เมื่อเข้าสู่หน้า https://join.quizizz.com 116 ภาพที่ ก-2 ใส่ชื่อผู้เล่น (แนะนาใช้ภาษาอังกฤษ) 117 ภาพที่ ก-3 สามารถ Login ด้วย บัญชี ของ Google เพื่อเก็บคะแนนไว้ดูย้อนหลัง 117 ภาพที่ ก-4 เมื่อพร้อมแล้วกดที่ปุ่ม START 118 ภาพที่ ก-5 ตัวอย่างคาถาม โดยผู้เล่น เลือกตอบคาตอบที่คิดว่าถูกต้อง 118 ภาพที่ ก-6 ตารางคะแนนอันดับการตอบเร็วและตอบถูก แสดงจัดอันดับกับผู้เล่นคนอื่น ๆ 119 ภาพที่ ก-7 สรุปผลการเล่นเกมตอบคาถาม 119 ภาพที่ ก-8 สื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ บนเว็บไซต์ Youtube.com 120 ภาพที่ ก-9 การเก็บข้อมูลวิจัยด้วยวิธีการส่งลิ้งค์ทางออนไลน์ 121 ภาพที่ ก-10 แผ่นแสดงขั้นตอนและวิธีการสาหรับลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายเพื่อเก็บข้อมูลวิจัย 122 บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา สถานการณ์การแพร่ระบาดของการติดเชื้อเอชไอวี ในประเทศไทย ดาเนินมาอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลานานมากกว่า 34 ปี นับตั้งแต่ ได้รับรายงานผู้ติดเชื้อเอชไอวี รายแรกของประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2527 สาเหตุหลักของการแพร่ระบาดเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน ข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาและการสารวจพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เอชไอวี บ่งชี้ว่าการลดลงของจานวนผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่ในประเทศไทยน้อยลง การเฝ้าระวังการติดเชื้อฯราย ใหม่พบแนวโน้มเพิ่มสูง ขึ้นในกลุ่ มหญิง ตั้ง ครรภ์ หญิง บริการและกลุ่ม ทหารคัด เลือกใหม่เ ข้ า กอง ประจาการที่ อายุ 20 – 24 ปี ซึ่งสอดคล้องกับผลการสารวจพฤติกรรมในกลุ่มเยาวชน พบว่าการมีคู่ เพศสัมพันธ์หลายคนและการมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกันเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เยาวชน ติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น จากรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ มีจานวนสูงสุดอยู่ใน กลุ่มเยาวชนอายุ 15-24 ปี และพบว่า 1 ใน 5 ของแม่ที่ตั้งครรภ์ และคลอดบุตรในปี พ.ศ. 2551 มีอายุน้อยกว่า 20 ปี สาหรับในกลุ่มประชากรที่มีภาวะเสี่ยงสูง ใน กลุ่ ม พนั ก งานบริ การหญิง (Female Sex Worker: FSW) ชายมี เ พศสั ม พันธ์ กับ ชาย (Men who have Sex with Men: MSM) พบการติดเชื้อฯ รายใหม่ในกลุ่มที่ทางานบริการนอกสถานบริการเพิ่ม สูง ขึ้นเกือบเท่าตัวในปี พ.ศ. 2551 และมีการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงกว่า พนักงานบริการที่ทางานบริการในสถานบริการประมาณ 5 เท่า ซึ่งพนักงานบริการกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มที่ เข้าไม่ถึงระบบบริการป้องกันดูแลรักษา รวมทั้งการได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกัน ตนเองจากการติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จากอดี ตกลุ่ มประชากรที่ ติ ดเชื้ อส่ วนใหญ่ เป็ นกลุ่ มชายที่ ติ ดจากหญิ งขายบริ การ แต่ ปั จจั ย สถานการณ์เปลี่ยนไป พบว่ากลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายมีแนวโน้มการติดเชื้อฯเพิ่มมากขึ้นอย่ างน่ า เป็นห่วง ซึ่งอาจจะเนื่องมาจากสังคมปัจจุบันประชากรกลุ่มนี้มีจานวนเพิ่มมากขึ้น สังคมยอมรับมากขึ้น และมีสถานที่พบปะสังสรรค์เฉพาะกลุ่ม มีการเปิดเผยตั วมากขึ้น ดังนั้นจึงทาให้อัตราการติดเชื้ อของ ประชากรกลุ่มนี้มีมากขึ้น ความชุกการติดเชื้อฯ ของกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายเพิ่มสูงขึ้นในพื้นที่เมืองใหญ่ที่มีความ เจริญทางเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว และสถานบันเทิง ได้แก่ กรุงเทพมหานครเชียงใหม่ และภูเก็ต กล่าวคือ ที่มีอัตราติดเชื้อฯ ในปี พ.ศ. 2550 สูงถึงร้อยละ 17-31 ในปี 2553 อัตราติดเชื้อฯเป็น 6.9-31.1 2 ภาพที่ 1.1 แผนภูมิอัตราผู้ติดเชื่อ HIV ใหม่ (ที่มา : www.avert.org August, 2560) การระบาดของการติ ด เชื้ อ ฯ ในประชากรกลุ่ ม ชายที่ มี เ พศสั ม พั น ธ์ กั บ ชายนี้ จ ะเป็ น ตั ว ขับเคลื่อนหลักของการระบาดของการติดเชื้อฯในประเทศไทยในอนาคต ซึ่งหากพฤติกรรมเสี่ยงใน กลุ่มเป้าหมายยังคงเป็นเช่นในปัจจุบัน คาดว่าสัดส่วนการติดเชื้อฯ รายใหม่ในปี พ.ศ. 2568 กว่าครึ่ง จะเป็นการติดเชื้อในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ภาพที่ 1.2 สัดส่วนคาดการณ์ของผู้ติดเชื้อรายใหม่ในแต่ละกลุ่มคนระหว่างปี พ.ศ.2558-2562 (ที่มา : www.avert.org, 2560) 3 จากการศึกษา มีรายงานโอกาสติดเชื้อไวรัส เอชไอวี (HIV) หรือ เอดส์ (AIDS) จากผู้ที่ติดเชื้อ เอดส์โดยประมาณต่อการกระทา/สิ่งที่เกิดขึ้น 1 ครั้ง (ทั้งนี้ถ้าเป็นเพศสัมพันธ์ จะเป็นกรณีไม่ไ ด้ใช้ ถุงยางอนามัย) ดังนี้ ตารางที่ 1.1 แสดงโอกาสการติดเชื้อเอชไอวี (Risk of getting HIV) ช่องทางการติดเชื้อ โอกาสติดเชื้อประมาณ (%) จากได้รับเลือดของผู้ติดเชื้อ 90.00 ลูกติดเชื้อจากการคลอดเมื่อมารดาติดเชื้อเอดส์ 25.00 ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน 0.67 พลาดถูกเข็มฉีดยาผู้ติดเชื้อแทงหรือตา 0.30 ชายหรือหญิงที่เป็นฝ่ายรับหรือถูกสอดใส่ทางทวารหนัก 0.04 - 3.00 ชายที่เป็นผู้สอดใส่ทางทวารหนัก 0.03 หญิงที่ร่วมเพศทางช่องคลอด 0.05 - 0.30 ชายที่ร่วมเพศทางช่องคลอด 0.01 - 0.38 ฝ่ายรับหรือฝ่ายถูกสอดใส่จากการร่วมเพศทางปาก (Oral sex) 0.04 ฝ่ายสอดใส่ทางปาก 0.005 (ที่มา : haamor.com, 2556) หมายเหตุ : โอกาสติดเชื้อจะสูงขึ้นในกรณี ไม่ ใช้ ถุ งยางอนามั ยในการร่ วมเพศ (การสวมถุ งยางอนามั ยทุ กครั้ ง และในทุ กรู ปแบบของ เพศสัมพันธ์ สามารถป้องกันการติดเชื้อ เอชไอวี ได้มากกว่า 90% และยังป้องกันโรคติด ต่อทางเพศสัมพันธ์ อื่น ๆ เช่น หนองใน ซิฟิลิส ได้มากกว่า 90% รวมทั้งยังป้องกันการตั้ง ครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ด้วย) - ถ้าเป็นการร่วมเพศทางทวารหนักในหมู่รักร่วมเพศ โอกาสติดเชื้อจะสูงขึ้นเป็นประมาณ 1.4-1.7% - การรวมเพศกับหญิง-ชายที่ขายบริการ โดยการติดเชื้อจากหญิงสู่ชาย ประมาณ 2.4% และ จากชายสู่หญิงประมาณ 0.05% - ร่วมเพศทุกรูปแบบในขณะมีแผลในส่วนที่ร่วมเพศ หรือ แผลสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากการร่วมเพศ แนวทางการแก้ไขปัญหา จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น ผู้จัดทาได้เล็งเห็นความสาคัญของปัญหาการติดเชื้อเอชไอวี และ โรคเอดส์ เพื่อให้ผู้คนมีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ผู้วิจัยเห็นว่าถ้าหากมี 4 การพัฒนาสื่อโมชันอินโฟกราฟิก เพื่อมานาเสนอข้อมูลดังกล่าว จะช่วยให้การนาเสนอเป็นที่น่าสนใจและ ทาให้ผู้รับชมสื่อเข้าใจได้ง่ายขึ้น ผู้พัฒนาจึงคิดได้พัฒนาสื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่องเอช ไอวีไม่เท่ากับ เอดส์นี้ขึ้นมา 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อพัฒนาสื่อโมชันอินโฟกราฟิก และ ใช้ในการเผยแพร่ความรู้สาหรับกลุ่มเป้าหมาย 1.2.2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และทัศนคติ เกี่ยวกับเอชไอวีและโรคเอดส์ที่ถูกต้องแก่ ผู้ชม โดยเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจด้วยแบบทดสอบก่อนเและหลังชมสื่อ 1.2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้รับชมที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิกเรื่องเอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ 1.3 ขอบเขตของงานวิจัย 1.3.1 กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม นักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และ นักศึกษาในจังหวัดนครปฐมหรือบริเวณใกล้เคียงจานวน 100 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย 1.3.2 ใช้ แ บบทดสอบก่ อ นและหลั ง ชมสื่ อ ออนไลน์ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ quizizz.com แบบปรนั ย 4 ตัวเลือกจานวน 10 ข้อ 1.3.3 โมชันอินโฟกราฟิกมีเสียงดนตรีและเสียงบรรยาย และ คาบรรยายประกอบ (subtitle) 1.3.4 โมชันอินโฟกราฟิกรับชมผ่านเว็บไซต์ youtube.com หรือ แอปพลิเคชัน Youtube บน อุปกรณ์ที่สามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ต 1.3.5 ผู้รับชมสื่อทาแบบประเมินความพึงพอใจสื่อผ่านระบบ Google form 1.3.6 สื่อโมชันอินโฟกราฟิกมีความยาวประมาณ 8 นาที 1.3.7 เนื้อหาที่ใช้ 1.3.7.1 ความแตกต่างระหว่างเอชไอวีและเอดส์ 1.3.7.2 ช่องทางการติดต่อ พฤติกรรมเสี่ยง และพฤติกรรมที่ไม่เสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี 1.3.7.3 การดูแลและป้องกันตนเองไม่ให้ติดเชื้อเอชไอวี 1.3.7.4 วิธีการตรวจเอชไอวี 1.3.7.5 ยาต้านไวรัส 5 1.3.8 ซอฟต์แวร์ที่ใช้พัฒนาสื่อ 1.3.8.1 โปรแกรม Adobe Illustrator CC ใช้สร้างกราฟิกวัตถุแบบนิ่งของอินโฟกราฟิก 1.3.8.2 โปรแกรม Adobe After Effect CC ใช้สร้างการเคลื่อนไหวให้วัตถุเพื่อสื่อสารให้ ตรงกับเนื้อหาที่ต้องการนาเสนอ 1.3.8.3 โปรแกรม Adobe Audition CC ใช้ ป รั บ แต่ ง เชื่ อ มโยงเสี ย งให้ เ หมาะสมกั บ ภาพเคลื่อนไหว 1.3.9.ฮาร์ดแวร์ที่ใช้พัฒนาสื่อ 1.3.9.1 Model: ASUS K550CC 15.6" (1366x768) 1.3.9.2 Processor: Intel® Core™ i5-3337U (3M Cache, up to 2.70 GHz) 1.3.9.3 Graphics: NVIDIA Geforce 720M/2GB 1.3.9.4 Storage: SSD 240 GB KINGSTON HyperX FURY (Windows 10 Pro 64-bit) 1.3.9.5 RAM: 12 GB (4 GBx1, 8 GBx1) DDR3 Bus 1666 MHz 1.3.9.6 Monitor 2nd: LED Monitor Acer 24" G237HL (HDMI 1920x1080 60Hz) 1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.4.1 เพื่อให้ได้สื่อโมชันกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ที่มีประสิทธิภาพ 1.4.2 ผู้ชมสื่อพึงพอใจในการรับชมสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ 1.4.3 เพื่อรณรงค์การเสริมสร้างสุขอนามัยให้ผู้ชมปลอดภัยจากโรคเอดส์ 1.4.4 เพื่อให้ผู้ชมนาความรู้ที่ได้ไปบอกต่อ หรือ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้ผู้อื่นได้ต่อไป 6 1.5 ระยะเวลาดาเนินงาน ในการศึกษาและพัฒนาสื่อโมชันกราฟิกเรื่อง เอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ ใช้เวลาประมาณ 4 เดือน หรือ 16 สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ซึ่งสามารถแสดงรายละเอียดการดาเนินงานได้ดังนี้ ตารางที่ 1.2 แสดงระยะเวลาการดาเนินงานทั้งหมดของโครงการ ระยะเวลา (สัปดาห์) ขั้นตอนการดาเนินงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูล 2. วิเคราะห์เนื้อหาที่ใช้ในอินโฟกราฟิก 3. กาหนดแนวคิดและทิศทางของงาน 4. เขียนบทอินโฟกราฟิก 5. ออกแบบตัวละคร 6. ออกแบบลาดับภาพ (Storyboard) 7. ออกแบบ-สร้างอินโฟกราฟิกแบบนิ่ง 8. ออกแบบการเคลื่อนไหวอินโฟกราฟิก 9. พากย์เสียงให้โมชันอินโฟกราฟิก 10. ทดสอบทดสอบและปรับปรุงสื่อ 11. ทาการ Render 12. จัดทาเอกสารประกอบโครงงาน บทที่ 2 หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ในการทาโครงงานสื่อโมชันอินโฟกราฟิก เรื่องเอชไอวีไม่เท่ากับเอดส์ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษา หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ประกอบด้วยรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.1 เชื้อไวรัสเอชไอวี โรคติดเชื้อเอชไอวี (HIV) คือ โรคจากการที่ร่างกายได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวี ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเอดส์ (AIDS, Acquired Immune Deficiency Syndrome หรือ Acquired Immune Deficiency Syndrome) ซึ่งทั่วโลกเริ่มรู้จักโรคเอดส์ ประมาณปี ค.ศ. 1981 ทั้งนี้การติดเชื้อไวรัสเอชไอวีพบได้ในทุกอายุ ตั้งแต่ ทารกในครรภ์ไปจนถึงผู้สูงอายุ ซึ่งในปลายปี ค.ศ. 2009 ประมาณว่ามีผู้ติดเชื้อ เอชไอวี ทั่วโลกทั้งหมด ประมาณ 33.3 ล้านคน และเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวเนื่องกับการติดเชื้อนี้สูงถึง ประมาณ 1.8 ล้านคน โดยโรคจากติดเชื้อเอชไอวี พบได้ทั่วโลก เป็นโรคระบาด และเป็นโรคติดต่อร้ายแรง ซึ่งพบได้มากที่สุดใน ประเทศแถบแอฟริกา 2.1.1 เชื้อไวรัสเอชไอวี เชื้อไวรัสเอชไอวี (HIV ย่อมาจากคาว่า Human Immunodeficiency Virus) เป็ น เชื้ อ ไวรั ส ชนิ ด หนึ่ ง ที่ จั ด อยู่ ใ นกลุ่ ม รี โ ทรไวรั ส (Retrovirus) และอยู่ ใ นตระกู ล เลนติ ไ วรั ส (Lentivirus family) เชื้อไวรัสเอชไอวีสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดตามลักษณะทางพันธุกรรม ได้แก่ เอชไอวี -1 (HIV-1) และเอชไอวี-2 (HIV-2) ทั้งสองชนิดสามารถทาให้เกิดการติดเชื้อในมนุษย์ได้ โดยเอชไอวี -1 พบ มากกว่าและจะพบในผู้ป่วยในทวีปยุโรป สหรัฐอเมริกา และส่วนกลางของทวีปแอฟริกา ในขณะที่ เอชไอ วี-2 จะพบในผู้ป่วยของประเทศอินเดีย และแอฟริกาตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ อาการ และการดาเนินโรคของ เชื้อทั้งสองชนิดคล้ายคลึงกัน รูปร่างของไวรัสเอชไอวี เป็นรูปร่างกลม แกนกลางเป็นรูปกรวยล้อม รอบด้วยชั้นไขมันบาง ๆ ภายในแกนกลางของเชื้อมีโปรตีนชื่อ p24 ซึ่งเป็นโปรตีนชนิดที่กระตุ้นให้ระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์สร้าง ภูมิคุ้มกันต้านทาน หรือ แอนติบอดี(Antibody) ต่อไวรัสนี้ ซึ่ง แอนติบอดีตัวนี้ แพทย์ใช้ในการตรวจ วินิจฉัยผู้ป่วยว่าติดเชื้อนี้หรือไม่ นอกจากนั้น ยังประกอบด้วยเอนไซม์อีก 3 ชนิดที่ใช้ในการเจริญเติบโต ของไวรัสนี้ คือ โปรตีเอส (Protease) รีเวิสทรานสคริ ปเตส (Reverse transcriptase) และอินตี เกรส (Integrase) เปลือกนอกสุดของไวรัสเป็นโมเลกุลของโปรตีนกับคาร์โบไฮเดรตรวมกัน (Glycoprotein) ชื่อ gp120 และ gp41 ซึ่งใช้ในการเข้าไปในเซลล์ที่เป็นเป้าหมายของไวรัสชนิดนี้ 8 เซลล์ที่เป็นเป้าหมายหลักของไวรัสเอชไอวี คือ เม็ดเลือดขาวลิมโฟซัยท์ (Lymphocyte) ชนิด ที เซลล์ (T-cell) ที่มี ซีดี 4 เป็นบวกที่บริเวณผิวนอกของเซลล์ (CD 4 positive T-cell, สารเกี่ยวข้อง กับภูมิคุ้มกันต้านทานโรค) ซึ่งเซลล์นี้มีบทบาทสาคัญมากในการทางานของระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรค 2.1.2 ความแตกต่างของโรคติดเชื้อไวรัสเอชไอกับโรคเอดส์ เมื่อผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสเอชไอวี จะมีอาการ และความผิดปกติแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 2.1.2.1 ระยะตั้งต้นเมื่อติดเชื้อไวรัสใหม่ ๆ หรือ ระยะติดเชื้อปฐมภูมิ อาการผิดปกติของผู้ป่วยในระยะแรกนี้จะมีน้อย และสามารถหายไปเองได้ในเวลา 2 ถึง 4 สัปดาห์ ได้แก่ เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มี ไข้ต่า ๆ อ่อนเพลีย น้าหนักลดเล็กน้อย ถ่ายอุจจาระเหลว ต่อมน้าเหลืองโต ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับอาการของ โรคไข้หวัดใหญ่ ทาให้วินิจฉัยถูกต้องได้ยาก ระยะแรกนี้ ยังไม่เรียกว่า โรคเอดส์ (Primary infection) เป็นระยะที่ไวรัสเข้าไปใน “ทีเซลล์” และทาให้เซลล์เหล่านี้ตาย เป็นจานวนมาก ทาให้ “ทีเซลล์” ในเลือดลดจานวนลง เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปทั่วร่างกาย และกระตุ้น ระบบภูมิคุ้มกันต้านทานที่สร้างแอนติบอดี ให้สร้างแอนติบอดี้ต่อเชื้อไวรัสขึ้นมาภายในเวลา 3 ถึง 7 สัปดาห์ หลังจากติดเชื้อ ซึ่งแอนติบอดีนี้สามารถตรวจพบได้จากเลือด และเป็นสิ่งที่ใช้ในการวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัส ชนิดนี้ที่ชัดเจนมาก 2.1.2.2 ระยะติดเชื้อเรื้อรังการติดเชื้อฉวยโอกาส อย่างรุนแรง ผู้ติดเชื้ออาจจะมี เชื้ อราขึ้นที่ลิ้ น หรือมี วัณโรค ปอดกาเริบ โรคเริม หรือโรคงู สวั ด เกิดขึ้นได้ แต่อาการมักไม่รุนแรงมาก และมักจะรักษาโรคเหล่านี้ได้ผล ระยะนี้ของโรคก็ยังไม่เรียกโรคเอดส์ เช่นกัน (Chronic infection) หรือระยะสงบทางคลินิก (Clinical latency) ระยะนี้ เชื้อไวรัสจะเข้าไปอยู่ ใน ต่อมน้าเหลือง และในม้าม และจะแบ่งตัวเพิ่มปริมาณในอวัยวะทั้งสองนี้เป็นส่วนใหญ่ ปริมาณของ CD 4 positive T-cell ในเลือด จะค่อย ๆ ลดจานวนลงอย่างช้า ๆ ระบบภูมิคุ้ม กันต้านทานโรคของร่างกาย จะไม่ สามารถก าจั ดเชื้อไวรั สได้ เพราะ CD 4 positive T-cell จะลดจานวนลงเรื่ อย ๆ ระยะนี้ส่วนใหญ่ จะกิ น เวลานาน 7-10 ปี โดยที่ผู้ติดเชื้อไม่มีอาการผิดปกติชัดเจน นอกจากนั้นการได้รับยาต้านไวรัสอย่างสม่าเสมอ จะเป็นการทาให้ผู้ติดเชื้อมีชีวิตอยู่ในระยะนี้ได้ยาวนานยิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อนสมัยที่ยังไม่มีการค้นพบยาต้านเชื้อ ไวรัส ซึ่งในระยะนี้ เซลล์ CD 4 positive T-cell ยังไม่ต่ามากจนเป็นสาเหตุ 2.1.2.3 ระยะที่เป็ นโรคเอดส์ ท้องเสีย ถ่ายอุจจาระเหลวเป็ นประจ า ปริมาณของ CD 4 positive T-cell จะต่ามาก ส่วนใหญ่ต่ากว่า 200 เซลล์ต่อไมโครลิตร และจะมีการติดเชื้อฉวยโอกาส ใน อวัยวะสาคัญอย่างรุนแรง เช่น ปอด มีอาการทางสมอง และมีมะเร็งชนิดต่าง ๆ เกิดขึ้นได้ ที่พบบ่อย คือ โรคมะเร็งคาโปซิซาร์โคมา (Kaposi sarcoma) และโรคมะเร็งต่อมน้าเหลือง ระยะนี้เป็นระยะที่ระบบ ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกายถูกทาลายเกือบทั้งหมดโดยเชื้อไวรัสนี้ ปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดจะ สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยจะมีไข้เรื้อรังนานเป็นเดือน ๆ อ่อนเพลียมาก น้าหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็ว 9 สรุป ก็คือระยะที่ 1 และ 2 ของการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ยังไม่เรียกว่าเป็นโรคเอดส์ เรา จะเรียกระยะที่ 3 ของโรคว่าเป็นโรคเอดส์เท่านั้น 2.1.3 การชะลอหรือป้องกันไม่ให้เป็นโรคเอดส์ ปัจจุบัน วิธีที่จะชะลอให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีในระยะที่ 2 สามารถทาได้โดยให้ยาต้านเชื้อไวรั ส อย่ างสม่ าเสมอ (Antiretroviral therapy) ซึ่ งยาที่ ใช้ มั กเป็ นยาหลายตั วร่ วมกั นในอั ตราส่ วนต่ าง ๆ ผู้ติดเชื้อต้องรับประทานยาตลอดไปไม่สามารถหยุดได้ ถ้าหยุดยาโรคจะกาเริบได้ และจะทาให้เชื้อดื้อยา และผู้ติดเชื้อต้องได้รับการเจาะเลือดเพื่อนับปริมาณเซลล์ CD 4 positive T-cell เป็นระยะ ๆ การปฏิบัติตัวของผู้ติดเชื้อก็มีความสาคัญมากในการป้องกันไม่ให้โรคดาเนินไปเป็นโรคเอดส์ เช่น ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่ ไม่ส่าส่อนทางเพศ (เพราะอาจไปรับเชื้อไวรัสเพิ่มเข้าร่างกายมาอีก ซึ่งอาจเป็น คนละสายพันธุ์กับที่มีอยู่แล้วในร่างกาย) ระมัดระวังไม่คลุกคลีกับผู้ป่วยโรคติดเชื้ออื่น ๆ เช่น วัณโรค เพราะจะติดเชื้อต่าง ๆ ได้ง่าย พักผ่อนให้เพียงพอ ออกกาลังกายให้เหมาะสม หาวิธีการต่าง ๆ ในการลด ความเครียดและวิตกกังวล ไม่กินยาพวก สเตียรอยด์เพราะจะทาให้ติดเชื้อต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้นเช่นกัน 2.1.4 การเข้าพบแพทย์เมื่อสงสัยติดเชื้อเอชไอวี เมื่อใดก็ตามที่มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ไม่ใช้ถุงยางอนามัยกับคู่นอนที่ไม่รู้จัก ไม่ใช่สามี ภรรยา การเที่ยวสถานบริการทางเพศโดยไม่ใช้ถุง ยางอนามัย ถุงยางฉีกขาดขณะร่วมเพศ ให้สงสัยไว้ก่อน ว่ามีโอกาสติดเชื้อไวรัสเอชไอวีได้ ควรไปพบแพทย์เพื่อปรึกษาและรับการตรวจได้เลย ซึ่งแพทย์อาจจะนั ด ตรวจมากกว่าหนึ่งครั้ง เพราะในระยะ 3-7 สัปดาห์หลังได้ รับเชื้อ อาจยังตรวจไม่พบแอนติบอดี เพราะ ร่างกายยังสร้างไม่ทัน อาจต้องตรวจเลือดซ้าหลังจากนั้น ถ้ามีปัจจัยเสี่ยง และเกิดมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไข้ต่า ๆ ต่อมน้า เหลืองโต ท้องเสีย ถ่าย เหลว อ่อนเพลีย ซึ่งอาจเป็นอาการของโรคในระยะที่หนึ่งได้ ควรไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจทันที เมื่อ น้าหนักลดมากและรวดเร็วโดยไม่ทราบสาเหตุ ควรพบแพทย์, เมื่อมีไข้ต่อเนื่องเป็นเวลานานเป็นสัปดาห์ โดยไม่ทราบสาเหตุ ควรพบแพทย์ , เมื่อท้องเสีย ถ่ายเหลวเรื้อรังเป็นสัปดาห์ ควรพบแพทย์ , เมื่อต่อม น้าเหลืองที่คอ หรือขาหนีบ มีขนาดโตกว่าปกติ ควรพบแพทย์เช่นกัน 10 2.1.5 การวินิจฉัยแพทย์วินิจฉัยโดยแพทย์ว่าติดเชื้อเอชไอวีแล้ว การวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวี วิธีที่ดีที่สุดคือ การตรวจเลือดว่ามีเชื้อไวรัสอยู่ในเลือดหรือไม่ หรือตรวจว่ามีภูมิคุ้มกันต้านทานต่อไวรัสเอชไอวี (แอนติบอดี) เกิดขึ้นหรือไม่ ถ้ามี เรียกว่าเลือดบวกต่อ การตรวจไวรัสเอชไอวี (HIV – POSITIVE) แสดงว่าติดเชื้อแล้ว เราไม่ควรเรียกว่าเลือดบวกเฉย ๆ อย่าง เดียว เพราะการตรวจเลือดว่า มีผลบวก หรือลบ ในทางการ แพทย์นั้นสามารถตรวจได้หลายโรค เช่น โรค ซิฟิลิส โรคไวรัสตับอักเสบ เป็นต้น ซึ่งถ้ากล่าวเพียงสั้น ๆ ว่า เลือดบวก จะไม่ทราบว่าเลือดบวกต่ อโรค อะไร อาจจะทาให้ผู้ฟังเข้าใจผิดได้ ถ้าตรวจแล้วไม่พบเชื้อเอชไอวีเราเรียก ว่าผลเลือดเป็นลบต่อการตรวจ ไวรัสเอชไอวี (HIV – NEGATIVE) ในผู้ที่ตรวจเลือดครั้งแรกได้ผลบวก โดยมากแพทย์จะให้ตรวจซ้าอีกครั้ง หนึ่งโดยใช้วิธีที่เรียกว่า พีซีอาร์ (PCR-polymerase chain reaction) เพื่อให้มั่นใจแน่นอนว่าเลื อดให้ ผลบวกแน่นอน การเจาะเลือดเพื่อนับจานวนเม็ดเลือดขาวชนิด “ทีลิมโฟซัยท์ที่มีซีดี 4 เป็นบวก” จะพบว่า จานวนลดลงมาก เพราะเชื้อไวรัสจะเข้าไปอยู่ในเซลล์ชนิดนี้ และจะทาลายเซลล์ชนิดนี้ไปเรื่อย ๆ การตรวจวิธีอื่น ๆ เช่น เอกซเรย์ ตรวจชิ้นเนื้อ (การตรวจทางพยาธิวิทยา) จะไม่สามารถให้การ วินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีได้ ผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวีในระยะแรก จะไม่มีอาการผิดปกติแต่อย่างใด ต่อ มาเมื่อโรคเป็นมากขึ้นจึง จะมีอาการต่อมน้าเหลืองโตทั่วตัว น้าหนักจะลดลงเรื่อย ๆ ดังนั้น อาการต่าง ๆ เช่น อาการไข้ น้าหนักลด ลิ้นเป็นฝ้าขาวจากเชื้อรา ซึ่งเป็นอาการของโรคที่อยู่ในระยะเป็นโรคเอดส์ แล้ว หรือมีการติดเชื้อฉวย โอกาสแล้ว จะไม่ช่วยการวินิจฉัยว่าติดเชื้อในระยะเริ่มต้นได้ 2.1.6 วิธีป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี การป้องกันตัวเองไม่ให้ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี มีหลายวิธี ได้แก่ 2.1.6.1 เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่ไม่ใช่สามี หรือภรรยาของตัวเอง ต้องใช้ถุง ยางอนามัยเสมอ ฝ่ ายชายจะมี เพศสั มพั นธ์ กั บใครต้ องใช้ ถุ งยางอนามั ยให้ เป็ นนิ สั ยโดยไม่ มี ข้ อยกเว้ น ฝ่ ายหญิ งจะมี เพศสัมพันธ์กับชายใด ต้องให้ฝ่ายชายใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งโดยไม่มีข้อยกเว้นเช่นกัน ถ้าฝ่ายชายไม่ยอม ใช้ ต้องปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์โดยเด็ดขาด รวมทั้งการมีเพศสัมพันธ์ทางปากและทางทวารหนักด้วย ก็ ต้องใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเช่นกัน 2.1.6.2 ฝ่ายชายไม่ควรใช้ปากกับอวัยวะเพศหญิงที่ไม่ใช่ภรรยา เพราะอาจมีเชื้อไวรัสในน้ า เมือกจากช่องคลอดของฝ่ายหญิงได้ ถ้าเข้าปากฝ่ายชายแล้วอาจทาให้ฝ่ายชายติดเชื้อได้ เคยมีรายงานการ ติดเชื้อโดยวิธีนี้แล้วถึงแม้จะไม่มากเท่าการติดเชื้อจากน้าอสุจิของฝ่ายชายก็ตาม 2.1.6.3 หลีกเลี่ยงการจูบปากกับคนที่ไม่รู้จัก หรือไม่ทราบว่าเป็นพาหะนาเชื้อหรือไม่ ถึงแม้ว่า ในน้าลายจะมีโอกาสน้อยที่จะมีเชื้อไวรัสเอชไอวี แต่ก็ไม่ปลอดภัยร้อยเปอร์เซ็นต์ ถ้าบังเอิญมีแผลภายใน ช่องปากก็อาจเป็นทาง เข้าของเชื้อไวรัสได้ 11 2.1.6.4 อย่าใช้การฉีดยาเสพติดชนิดเข้าเส้น อย่าใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วม กับคนอื่น 2.1.6.5 หลีกเลี่ยงการสักตามผิวหนัง การเจาะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพราะสถานบริการบาง แห่งอาจรักษาความสะอาดของเครื่องมือไม่ดีพอ 2.1.6.6 บุคคลากรทางการแพทย์ ถ้าเกิดอุบัติเหตุเข็มตาต้องรีบแจ้งหน่วยที่ดูแลทางการติ ด เชื้อ เพื่อรับยาต้านไวรัสอย่างทันท่วงที วิธีนี้สามารถป้อง กันการติดเชื้อได้มาก 2.1.6.7 ปัจจุบันวัคซีนป้องกันโรคเอดส์ ยังอยู่ในระยะของการศึกษาวิจัย ยังไม่มีการผลิ ต ออกมาใช้ในวงกว้าง ในระยะใกล้นี้ จึงไม่สามารถใช้วัคซีนในการป้องกันได้ 2.1.6.8 ต้องเตือนตนเองไว้ เสมอว่ า เราไม่สามารถรู้ว่ าใครติ ดเชื้อไวรั สเอชไอวี จากการดู ลักษณะภายนอก คนที่ดูภายนอกสวยงาม หรือหล่อเหลาสะอาดสะอ้านเพียงใด ก็ไม่สามารถไว้ใจได้ว่า เขา หรือเธอจะไม่ใช่พาหะนาโรคไวรัสเอชไอวีมาสู่เรา จึงต้องป้องกันไว้ก่อนเสมอ 2.1.6.9 ก่อนแต่งงานกับใคร ต้องตรวจเลือดของผู้ที่จะมาแต่งงานกับเราก่อนเสมอทั้งหญิงและ ชายว่า มีเชื้อโรคอะไร หรือเป็นพาหะของโรคใด ทั้ง นี้ไม่เฉพาะโรคเอดส์ แต่รวมถึง โรคซิฟิลิส โรคไวรัสตับ อักเสบ และโรคธาลัสซีเมีย ด้วย 2.1.7 การปฏิบัติตนเมื่อติดเชื้อเอชไอวี การปฏิบัติตนเมื่อติดเชื้อไวรัสเอชไอวีแล้ว ที่สาคัญ ได้แก่ หาความรู้เกี่ยวกับโรคให้มากที่สุด ศึกษา วิธีป้องกันการแพร่เชื้อไปสู่คนอื่น รับยาต้านไวรัส (Antiretroviral therapy) เป็นประจา อย่าให้ขาดยา รักษาสุขภาพทั่วไปให้แข็งแรง ผู้ที่ติดเชื้อแล้วจะยังไม่เกิดอาการรุนแรง หรือไม่มีอาการอยู่เป็นเวลานาน บางคนไม่มีอาการผิดปกติเป็นเวลาหลาย ๆ ปี ในช่วงเวลาเหล่านี้ควรออกกาลังกาย ทานอาหารที่มี ประโยชน์ (อาหารมีประโยชน์ห้าหมู่ ในปริมาณที่ไม่ทาให้เกิดโรคอ้วน และน้าหนักตัวเกิน) พักผ่อนให้ เพียงพอ เลิกดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ เลิกพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม หาวิธีลดความเคร่งเครียดทาง จิตใจด้วยวิธีการต่าง ๆ 2.1.8 วิธีป้องกันการแพร่เชื้อให้คนอื่นเมื่อติดเชื้อเอชไอวี คนที่ติดเชื้อเอชไอวีแล้วสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่น ๆ ได้ตลอดไป ถึง แม้จะกินยาควบคุมการ เพิ่มจานวนเชื้อไวรัสอยู่ ก็ยังสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่น ๆ ได้ ดังนั้น คนที่ติดเชื้อแล้ว ควรมีวิธีการปฏิบัติ ตัว ดังนี้ 2.1.8.1 ถ้ าเป็ นเพศชายที่ ติ ดเชื้ อ ให้ ใช้ ถุ งยางอนามั ยทุ กครั้ งที่ มี เพศสั มพั นธ์ ไม่ ว่ าจะมี เพศสัมพันธ์กับภรรยาของตนเอง กับหญิง หรือชายอื่น แม้แต่ผู้ที่ติดเชื้อเหมือนกันก็ต้องใช้ถุงยางอนามัย เช่นกัน เพราะเชื้อที่แต่ละคนมี อาจมีความแตกต่างในสายพันธุ์ ทาให้การตอบสนองต่อยา ความรุนแรง ของเชื้อ หรือการดื้อยาแพร่กระจายไปได้ แม้แต่การมีเพศสัมพันธ์โดยใช้ปาก หรือทางทวารหนัก ก็ต้องใช้ ถุงยางอนามัย และห้ามปล่อยน้าอสุจิเข้าปากให้อีกฝ่ายกลืนเข้าไปโดยเด็ดขาด การจูบปากกับผู้อื่น ควร 12 หลีกเลี่ยง ถึงแม้จะมีโอกาสแพร่เชื้อได้ยากกว่าทางอื่นแต่ก็ไม่ปลอดภัยร้อยเปอร์เซ็นต์เพราะเคยมีรายงาน การพบเชื้อไวรัสเอชไอวีในน้าลายได้ ถึงแม้ปริมาณจะน้อยก็ตาม 2.1.8.2 ถ้าเป็นเพศหญิงที่ติดเชื้อ ต้องให้ชายที่มีเพศสัมพันธ์ด้วยใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งไม่ว่า จะเป็นสามีหรือชายอื่น อย่าให้คู่ที่มีเพศสัมพันธ์ใช้ปากกับอวัยวะเพศของฝ่ายหญิงที่ติดเชื้อ เพราะในน้า เมือก หรือสารคัดหลั่ง (Secretion) จากช่องคลอด สามารถมีเชื้อไวรัสออกมาได้ การมีเพศ สัมพันธ์ทาง ปากก็ต้องใช้ถุงยางอนามัยเช่นกัน ควรหลีกเลี่ยงการจูบปากกับผู้อื่น ห้ามฝ่ายชายที่มีเพศสัมพันธ์ด้วย นา ถุงยางอนามัยที่ร่วมเพศกับหญิงที่ติดเชื้อไปใช้ร่วมเพศกับหญิงอีกคนหนึ่งในกรณีที่เป็นการมีเพศสัมพันธ์ หมู่เพราะอาจเป็นการแพร่เชื้อได้ทางหนึ่ง 2.1.8.3 ผู้ติดเชื้อห้ามบริจาคโลหิตให้ผู้อื่น เพราะในเลือดจะมีเชื้อไวรัสเป็นจานวนมาก แต่ สามารถรับโลหิตจากผู้อื่นได้ 2.1.8.4 ผู้ติดเชื้อเพศหญิง ควรหลีกเลี่ยงการตั้งครรภ์ เพราะในช่วงการตั้ง ครรภ์ร่างกายจะ อ่อนแอลง โรคอาจจะกาเริบ และบุตรที่เกิดมาอาจติดเชื้อจากมารดาได้ แต่ในเรื่องการตั้งครรภ์นี้ยังมี ความเห็นขัดแย้งกันอยู่บ้างเพราะบางรายงานบอกว่าผู้ติดเชื้อที่ยังไม่แสดงอาการของโรคสามารถตั้ง ครรภ์ และคลอดได้ตามปกติ 2.1.8.5 เมื่อผู้ติดเชื้อจาเป็นต้องเข้าโรงพยาบาล หรือผ่าตัด หรือคลอดบุตรควรแจ้งให้บุคลากร ทางการแพทย์ทราบว่าตนเองติดเชื้อ เพราะบุคลากรทางการแพทย์อาจติดเชื้อจากเลือดของท่านได้ ถ้า ทราบก่อนจะได้ป้องกันอย่างถูกต้อง 2.1.8.6 เมื่อผู้ติดเชื้อจะแต่งงาน ควรแจ้งให้คู่แต่งงานทราบก่อนว่า เป็นผู้ติดเชื้อ เพื่อจะได้ ปฏิบัติตนในการป้องกันให้ถูกต้องต่อไป 2.1.8.7 ผู้ติดเชื้อไม่ควรบ้วนน้าลาย วัณโรค ซึ่งผู้ติดเชื้อมีโอกาสเป็นได้ มาก และสามารถ แพร่กระจายทางเสมหะได้ ขากเสมหะในที่สาธารณะทั่วไป ถึงแม้จะไม่ใช่ทางแพร่เชื้อไวรัสเอชไอวี แต่ใน น้าลาย หรือเสมหะนั้นอาจมีเชื้อโรคชนิดอื่น ๆ 13 2.1.9 การปฏิบัติตนเมื่อติดเชื้อเอชไอวีแล้วเพื่อให้มีชีวิตยืนยาวและมีความสุข สิ่งแรกในการดาเนินชีวิตเมื่อติดเชื้อเอชไอวีแล้ว คือ ผู้ติดเชื้อต้องหาความรู้เกี่ยวกับโรคนี้จาก บุ คคลากรทางการแพทย์ จากหนั งสื อ จากอิ นเตอร์ เนท จากผู้ ที่ เคยติ ดเชื้ อมาแล้ วและเต็ มใจมาให้ คาแนะนา หรือรวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การมีความรู้ที่ถูกต้องจะทาให้ผู้ติดเชื้อไม่ตื่นตระหนก หรือวิตกกังวลจนเกินควร และสามารถปฏิบัติตนในการป้องกันการแพร่เชื้อ และป้องกันการติดเชื้อโรคอื่น ๆ ที่จะเข้ามาแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง กิ นยาที่ ใช้ ควบคุ มการเพิ่ มปริ มาณของเชื้ อไวรั สนี้ จากสถานพยาบาลอย่ างสม่ าเสมอ อย่าปล่อยให้ขาดยา เพราะการขาดยาจะทาให้เชื้อเพิ่มปริมาณมากขึ้น และเกิดการดื้อยาได้ ทาให้ยาที่เคย ใช้ได้ผลกลับเป็นใช้ไม่ได้ผลอีกต่อไป ผู้ที่ติดเชื้อแล้วไปรับยาอย่างสม่าเสมอสามารถมีชีวิตยืนยาวอย่างคน ปกติได้ก็มีเป็นจานวนมาก อย่าทาให้ร่างกายอ่อนแอด้วยอบายมุขต่าง ๆ เช่น การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การเที่ยวกลางคืน ทั้ง ๆ ที่ควรจะพักผ่อนนอนหลับให้พอเพียง การใช้ยาเสพติด การที่ร่างกายอ่อนแอลงจะทาให้โรคกาเริบ ได้ ควรศึกษาวิธีการต่าง ๆ ทั้งทางจิตวิทยา ศาสนาที่ผู้ติดเชื้อนับถือ มีเพื่อน หรือญาติพี่น้องที่ คอยเป็นที่ปรึกษาและให้กาลังใจ เพื่อให้ลดความ เครียดของจิตใจลงได้ ความเครียดที่มากเกินไปนั้น จะ ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรคอ่อนแอลง และเชื้อไวรัสนี้สามารถเพิ่มจานวนได้ อย่าซื้อยาต่าง ๆ กินเองโดยเฉพาะยาชุด หรือยาลูกกลอนที่ไม่รู้ที่มาหรือผู้ผลิตที่ชัดเจน เพราะ อาจจะได้รั บยากดภู มิคุ้ มกั นต้ นทานโรคจ าพวก สเตียรอยด์ (Steroid) โดยไม่รู้ตัว ยาพวกนี้จะยิ่ ง กด ภูมิคุ้มกันต้านทานโรค ทาให้ติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และเชื้อฉวยโอกาสต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น และอาจรุนแรง ถึงเสียชีวิตได้ ปัจจุบันมีกลุ่ มผู้ ติ ดเชื้ อและองค์ กรเอกชนที่ ท างานเพื่อให้ก าลังใจและช่ วยเหลื อผู้ติ ดเชื้ อ ด้วยกันหลายกลุ่ม การเข้ากลุ่มเหล่ านี้นอกจากจะทาให้ผู้ติดเชื้อได้รับการช่วยเหลือแล้ว การช่วยเหลื อ ผู้อื่นในกลุ่ม ยังทาให้เกิดความสุขที่เกิดจากการให้ ซึ่งมีผลดีต่อทั้งร่างกายและจิตใจในทางที่ดีเป็นอย่างยิ่ง สามารถหาชื่อองค์กรเหล่านี้ได้ทางอินเตอร์เนท หลีกเลี่ยงความคิดแก้แค้น ผูกพยาบาท อยากแก้แค้นสังคม หรือผู้ อื่นที่คิดว่าเป็นต้นเหตุการ ติดเชื้อ การพยายามแพร่เชื้อให้ผู้อื่นโดยตั้งใจ ความคิดด้านลบเหล่านี้ ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพร่างกายและ จิตใจโดยรวม หลีกเลี่ยงความคิดว่าตนเองต้องตายแน่ ตายในเวลาไม่นาน ตายโดยไม่มีคนดูแล ความคิดทาง ลบแบบนี้ ทาให้ซึมเศร้าและหดหู่ ไม่เป็นผลดีต่อระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกายแต่อย่างใด 14 2.1.10 โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นเมื่อติดเชื้อเอชไอวี โรคแทรกซ้อนจากติดเชื้อเอชไอวี ที่พบได้บ่อย คือ - การติ ด เชื้ อ ฉวยโอกาส เช่ น เชื้ อ ราแอสเปอจิ ล ลั ส (Aspergillosis) เชื้ อ ราแคนดิ ด า (Candidiasis) เชื้อราฮิสโตพลาสโมสิส (Histoplasmosis) เชื้อราเพนนิซิลเลียม (Penicillosis) เชื้อทอกโซ พลาสมา (Toxoplasmosis) เชื้อนิวโมซิสตีส (Pneumocystis jiroveci) เชื้อ วัณโรค เชื้อไวรัสซัยโตเมกาโล ไวรัส (Cytomegalovirus หรือ CMV) เชื้อไวรัส เริม (Herpes simplex) เชื้อไวรัส งูสวัด (Herpes zoster) เป็นต้น ซึ่งเชื้อฉวยโอกาสเหล่ านี้มักจะท าให้เกิ ดการติ ดเชื้ อที่ อวัยวะภายใน เช่น ปอด สมอง ตับ ไต ต่อมน้า เหลือง และมักจะมีความรุนแรงของโรคมากกว่าปกติ รักษายากกว่าปกติ เพราะร่างกายไม่มี ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคที่จะมาต่อสู้กับเชื้อโรคฉวยโอกาสเหล่านี้ ยาที่จะใช้รักษาก็มักมีผลข้างเคียงได้หลาย อย่าง และมีโอกาส เชื้อดื้อยา สูง โดยมากโรคแทรกซ้อนเหล่านี้จะเกิดภายในเวลา 7-10 ปีนับตั้งแต่เริ่มติด เชื้อไวรัส แต่ผู้ป่วยบางคนก็มีอาการเร็วกว่านั้น เช่น เกิดอาการน้าหนัก ลด ต่อมน้าเหลืองโต ติดเชื้อฉวย โอกาสภายในเวลา 2-3 ปีนับจากได้รับเชื้อได้ แต่เป็นส่วนน้อย - โรคมะเร็งต่อมน้าเหลือง และ โรคมะเร็งคาโปซิซาร์โคมา รวมทั้งมะเร็งชนิดอื่น ๆ ด้วย เช่น โรคมะเร็งไต โรคมะเร็งปากมดลูก และ โรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะมะเร็งที่เกิดในร่างกายตลอดเวลา เมื่อ ระบบภูมิ คุ้มกันต้านทานโรคบกพร่อง เซลล์มะเร็งก็มีโอกาสเจริญแบ่งตัวมากขึ้น จนกลายเป็นก้อนมะเร็ง ขนาดใหญ่ได้ เป็นต้น มีสมมุติฐานว่าระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกายจะคอยทาลายเซลล์ - โรคแทรกซ้อนทางสมองได้แก่ อาการที่เกิดจากเชื้อไวรัสทาลายเนื้อสมองจากการที่เชื้อไวรัส เข้าไปอยู่ในเซลล์ของสมองชนิดหนึ่ง ชื่อ ไมโครเกลีย (Microglia) ไวรัสจะทาให้เซลล์ไมโครเกลียนี้ ปล่อย สารเคมีออก มาหลายชนิด เช่น อินเตอลูคิน 1 และ 6 (Interleukin 1,6) สารทีเอ็นเอฟ (TNF-Tumor Necrotic Factor) ซึ่งสารเหล่านี้จะทาลายเซลล์สมองส่วนอื่น ๆ ด้วย ผู้ปว่ ยอาจมีอาการทางสมองได้หลาย อย่าง เช่น ซึม โวยวาย ความจาเสื่อม หมดสติ ชัก อาการคล้าย โรคจิต เป็นต้น 2.1.11 ข้อควรการปฏิบัติของผู้ที่อยู่บ้านเดียวกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี การปฏิบัติตัวของผู้ที่อยู่บ้านเดียวกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่สาคัญ คือ - การปฏิบัติตัวต่อผูต้ ิดเชื้อควรทาเหมือนปกติ ให้กาลังใจ อย่าแสดงท่ารังเกียจ - หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ทาให้ติดเชื้อจากผู้ป่วยได้ - รับประทานอาหารร่วมกันได้ แต่ควรใช้ช้อนกลางตักกับข้าว รักษา อนามัยส่วนบุคคลให้ ดี ล้างมือบ่อย ๆ ซึ่งคือ การรักษา สุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ) นั่นเอง 15 - ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาต้านเชื้อไวรัสอย่างสม่าเสมอ - ไม่จาเป็นต้องแยก ห้องน้า ห้องส้วม - หาความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อเอชไอวี และ โรคเอดส์ เช่น ควรรู้ว่าโรคนี้ ไม่สามารถติดต่อทาง ยุง หรือการสัมผัสเนื้อตัวภายนอก เป็นต้น 2.1.12 การปฏิบัติตนเมื่อผู้ติดเชื้อเอชไอวีตั้งครรภ์ การปฏิบัติตัวของผู้ติดเชื้อเอชไอวีเมื่อตั้งครรภ์ ที่สาคัญ คือ เด็กในครรภ์มีโอกาสติดเชื้อจาก แม่ได้ โอกาสของการติดเชื้อของลูกมีรายงานว่าอยู่ระหว่าง 7-49 % แสดงว่าเด็กทารกส่วนใหญ่ไม่ติดเชื้อ จากแม่ ควรฝากครรภ์แต่เนิ่น ๆ และบางครั้งแพทย์อาจให้ยาต้านเชื้อไวรัสในระหว่างการตั้ง ครรภ์ เพื่อลด ความเสี่ยงในการติดเชื้อของเด็กด้วย เมื่อคลอดบุตรแล้วไม่ควรเลี้ยงบุตรด้วยนมของมารดาที่ติดเชื้อ เพราะเชื้ออาจอยู่ในน้านมได้ ถึงแม้จะไม่มากก็ตาม เพราะบุตรที่รอดจากการติดเชื้อในครรภ์ และจากในระหว่างการคลอด อาจจะมาติด เชื้อจากนมแม่ได้อีกทางหนึ่ง 2.1.13 การปฏิบัติตนหากคู่ครองติดเชื้อเอชไอวีมาจากผู้อื่น ถ้าสามีหรือภรรยาติดเชื้อจากคนอื่น คู่ครองควรปฏิบัติดังนี้ - ที่สาคัญคืออย่าปิดบังความจริงจากคู่ครอง และทาทุกวิถีทางที่จะไม่ให้คู่ครองติดเชื้อได้ ใน ความเป็นจริงกรณีนี้มักเกิดจากฝ่ายชายที่ไปเที่ยวสาส่อนนอกบ้านจนติดโรคแล้วนามาแพร่เชื้อให้ภรรยาที่ บ้านโดยภรรยาไม่ รู้ตั วและไม่ เคยคิ ดป้ องกั นการติ ดเชื้ อที่ มาทางสามี เลย เพราะไม่ ทราบว่ าสามี ไ ปมี เพศสัมพันธ์กับหญิงอื่นนอกบ้าน กว่าจะทราบก็ติดเชื้อไปแล้ว - ถ้าสามีเป็นฝ่ายติดเชื้อ การมีเพศสัมพันธ์กับภรรยาทุกครั้งต้องใช้ถุง ยางอนามัยตลอดไป และปรับพฤติกรรมที่อาจจะแพร่เชื้อให้ภรรยาได้ - ถ้าภรรยาติดเชื้อจากสามีแล้ว สามีก็ต้องใช้ถุงยางอนามัยเช่นกันเพื่อไม่ให้ภรรยารับเชื้อไวรัส เพิ่มเข้าไปอีก และต้องไปรับการรักษาทั้งสามีและภรรยาตลอดไป - ควรต้องพบแพทย์ทั้งสามีและภรรยา ไม่ว่าใครติดเชื้อ 2.1.14 สาเหตุการตายที่สาคัญของผู้ป่วยโรคเอชไอวี สาเหตุการตายที่สาคัญของผู้ติดเชื้อเอชไอวี คือ ตายจากโรคหรือจาก การติดเชื้อฉวยโอกาส ในอวัยวะสาคัญต่าง ๆ ซึ่งเป็นสาเหตุตายที่สูงที่สุด เช่น โรคปอดบวม วัณโรค ที่แพร่กระจายไปทั่วร่างกาย โรคติดเชื้อไวรัสจากเชื้อราชนิดต่าง ๆ ชนิดอื่น ๆ ในเกือบทุกอวัยวะของร่างกาย เป็นต้น ตายจากโรคเอดส์เอง คนที่เป็นโรคเอดส์ เรื้อรังนาน ๆ ร่างกายจะผอมลงเรื่อย ๆ การทางาน ของระบบอวัยวะต่าง ๆ เช่น สมอง ทางเดินอาหารจะค่อย ๆ เสียไป มีอาการทางสมอง ช่วยตัวเองไม่ได้ ตายจากโรคมะเร็ง ที่เกิดขึ้น 16 2.2 โรคเอดส์ โรคเอดส์ คื อ อาการของโรคภู มิ คุ้ ม กั น บกพร่ อ ง (AIDS : Acquired Immune Deficiency Syndrome) โดยเกิ ดจากเชื้ อไวรั สชนิ ดหนึ่ ง ที่ มี ชื่ อว่ า ฮิ วแมนอิ มมิ วโนเดฟี เชี ยนซี ไ วรัส (Human Immunodeficiency Virus : HIV) หรือเรียกกันง่าย ๆ ว่า เชื้อเอชไอวี (HIV) เชื้อเอชไอวีเมื่อเข้าสู่ร่างกาย แล้ วมั นจะเข้ าไปท าลายเซลล์ เม็ ดเลื อ ดขาว ซึ่ ง เม็ ดเลื อดขาวในร่ างกายท าหน้ า ที่ ในการก าจั ด สิ่ ง แปลกปลอม หรือเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่า งกายแล้วนาไปทาลาย เมื่อเซลล์เม็ดเลือดขาวถูกทาลาย จึงทาให้ ผู้ป่วยที่ได้รับเชื้อเอชไอวี มีภูมิคุ้มกัน ต่าลง จนในที่สุดร่างกายไม่มีภูมิคุ้มกันเพียงพอในการป้องกัน ร่างกายจากเชื้อโรคภายนอก จึงทาให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีนั้นสามารถติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนปกติส่งผล ให้เป็นโรคอื่น ๆ ตามมา อาทิ วัณโรค ปอดบวม ติดเชื้อในกระแสโลหิต เชื้อรา และอีกมากมายหลายโรค ที่เป็นเช่นนี้ เพราะระบบภูมิคุ้มกันถูกทาลาย จึงไม่สามารถกาจัดเชื้อโรคออกจากร่างกายได้นั้นเอง 2.2.1 สายพันธุ์ของโรคเอดส์ เชื้อไวรัสเอดส์นั้นมีหลากหลายสายพันธุ์ แต่สายพันธุ์ดั้งเดิมคือ เอช ไอวี 1 (HIV-1) ซึ่งเป็นสายพันธุ์ดั้งเดิมที่แพร่ระบาดอยู่ใน ยุโรป แอฟริกากลาง และสหรัฐอเมริกา ส่วน เอชไอวี 2 (HIV-2) แพร่ระบาดในแถบแอฟริกาตะวันตก เนื่องจากเชื้อเอชไอวีนั้นมีด้วยกันหลายสายพันธุ์ ในปัจจุบันได้ค้นพบว่ามีมากกว่า 10 สาย พันธุ์ซึ่งกระจายอยู่ทั่วโลก โดยแหล่งที่พบมากที่สุดคือ แอฟริกาซึ่งมีมากกว่า 10 สายพันธุ์ เพราะถือว่าเป็น แหล่งกาเนิดของเชื้อเอชไอวี เป็นระยะเวลานานกว่า 70 ปี สายพันธุ์ที่พบมากที่สุดในโลกคือ สายพันธุ์ซี โดยมีมากถึง 40% สาหรับพื้นที่พบคือ ทวีปแอฟริกา อินเดีย จีน และพม่า ส่วนในประเทศไทยนั้น พบ บ่อยคือ เชื้อเอชไอวี 2 สายพันธุ์ สายพันธุ์ เออี (A/E) หรือ (E) พบได้มากถึง 95% โดยการแพร่ระบาดนั้น เกิดจากการมีความสัมพันธ์ระหว่างชายกับหญิง กับสายพันธุ์บี (B) ที่เกิดการแพร่ระบาดในกลุ่มรักร่วมเพศ หรือการใช้เข็มฉีดยาร่วมกันเพื่อใช้เสพยาเสพติด สาหรับสายพันธุ์ที่ ไม่ เคยพบเลยในประเทศไทยเลยคื อ สายพันธุ์ซี แต่มีการพบสายพั นธุ์ ระหว่าง อี-ซี ที่เป็นลูกผสมระหว่างสายพันธุ์อีในประเทศไทยกับสายพันธุ์ซี ซึ่งมีถิ่นกาเนิดในทวีปแอฟริกา และเมื่อไม่นานมานี้ ได้ค้นพบเชื้อเอชไอวีสายพันธุ์ใหม่ ที่ไม่เคยตรวจพบที่ใดในโลกมาก่อน เป็นการผสม ระหว่าง 3 สายพันธุ์ คือ เอ อี และจี เรียกว่า เอ อี จี (AE/G) 2.2.2 การติดต่อของโรคเอดส์ ช่องทางการติดต่อของโรคเอดส์มี 3 ทางดังนี้ 2.2.2.1 การร่วมเพศกับผู้ที่มีเชื้อเอชไอวี โดยไม่ใส่ถุงยางอนามัย ซึ่งรวมไปถึงการร่วมเพศระหว่างชายกับชาย หญิงกับหญิง หรือแม้จะเป็นชายกับหญิง ซึ่งเป็นช่องทางธรรมชาติหรือไม่ธรรมชาติก็ตาม สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการติดต่อโรคเอดส์ได้ ทั้งนี้จาก ข้อมูลของทางกองระบาดวิทยาระบุว่า 83% ของผู้ติดเชื้อเอดส์นั้น ล้วนได้รับเชื้อมาจากการมีเพศสั มพันธ์ ทั้งสิ้น 17 2.2.2.2 การรับเชื้อทางเลือด การติดเชื้อเอดส์พบได้ใน 2 กรณี คือ 1) ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน หรือแม้แต่การใช้กระบอกฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อเอดส์ ซึ่งพบ บ่อยในกลุ่มของผู้ที่เสพสารเสพติด หรือฉีดยาเข้าเส้น 2) รับเลือดมาจากการผ่าตัด หรือเพื่อรักษาโรคเลือดบางชนิด ซึ่งเราไม่มีทางรู้เลยว่ า เลือดที่รับบริจาคมามาจากแหล่งไหน แต่ในปัจจุบันนั้นได้มีการตรวจสอบเพื่อความปลอดภัย โดยจะนาเลือด ที่รับบริจาคมาไปหาตรวจหาเชื้อเอดส์ก่อนเสมอ ดังนั้นจึงมีความปลอดภัย 100% 2.2.2.3 การติดต่อผ่านแม่สู่ลูก ซึ่งเกิดจากแม่ที่มีเชื้อเอดส์อยู่แล้ว แล้วเกิดการตั้งครรภ์ทา ให้มีการถ่ายทอดเชื้อเอดส์ไปสู่ลูก แต่ในปัจจุบัน ได้ค้นพบวิธีการป้องกันการแพร่เชื้อเอดส์จากแม่ไปสู่ ลูกได้สาเร็จแล้ว โดยวิธีการทานยาต้านไวรัสในช่วงตั้งครรภ์ จะช่วยป้องกันความเสี่ยงจากการติดเชื้อ เอดส์ของทารกลดลงเหลือ ร้อยละ 8 แต่ก็ยังมีความเสี่ยงอยู่ ไม่ได้ปลอดภัย 100% นัก ดังนั้นวิธีที่ดี ที่สุดคือ การตรวจเลือดก่อนแต่งงานจะดีที่สุด ภาพที่ 2.1 ช่องทางการติดต่อของโรคเอดส์ (ทีม่ า : www.honestdocs.co, 2561) นอกจากนี้ เชื้อเอดส์ยังสามารถติดต่อได้อีกหลายวิธี แต่ก็มีโอกาสน้อยมาก เช่น ใช้ สิ่งของร่วมกับผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอดส์ โดยไม่มีการทาความสะอาด การเจาะหูโดยการใช้เข็มร่วมกันกับผู้ติดเชื้อ เอดส์ หรือแม้แต่การสัก ไม่ว่าจะเป็นการสักผิวหนัง สักคิ้ว เพราะเชื้อเอชไอวีอยู่ในกระแสเลือดของผู้ติดเชื้อ เอดส์อยู่แล้ว ดังนั้นจึงทาให้เชื้อเอชไอวี เข้าสู่ร่างกายได้ง่าย นอกจากเลือดแล้ว เชื้อเอสไอวียังสามารถ ติดต่อกันผ่านทางน้าเหลืองได้ แต่โอกาสที่จะติดเชื้อต้องเป็นแผลเปิด และมีเลือดหรือน้าเหลืองที่มีเชื้อเข้าไป เป็นจานวนมากเท่านั้น 18 2.2.3 ปัจจัยที่ทาให้ติดเชื้อเอดส์ มีหลายประการ คือ 1) ปริมาณเชื้อเอดส์ที่ได้รับ หากได้รับเชื้อเอดส์ในปริมาณมากก็จะทาให้มีโอกาสเสี่ยงต่ อ การติดเชื้อเอดส์สูงตามไปด้วย เชื้อเอดส์จะพบมากที่สุดในเลือด รองลงมาคือในน้าอสุจิและน้าในช่อง คลอด 2) การมีบาดแผล หากมีบาดแผลบริเวณผิวหนัง หรือในปากก็ย่อมทาให้มีโอกาสติด เชื้อ เอดส์สูง เพราะเชื้อเอชไอวี สามารถเข้าสู่บาดแผลได้ง่าย 3) ความบ่อยในการสัมผัสเชื้อ หากมีการสัมผัสเชื้อไวรัสบ่อย โอกาสเสี่ยงที่จะติดเชื้อก็มี สูงขึ้น เช่น นักวิจัยที่ต้องทาการทดลอง ศึกษาเกี่ยวกับเชื้อไวรัส เอชไอวี เป็นต้น 4) การติ ด เชื้ อ แบบอื่ น ๆ เช่ น แผลเริ ม ซึ่ ง แผลชนิ ด นี้ จ ะมี เ ม็ ด เลื อ ดขาวอยู่ ที่ บ ริ เ วณ แผลเป็นจานวนมาก ทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์ได้ง่าย และเชื้อเอดส์ก็ยังเข้าสู่บาดแผล ได้ง่ายขึ้นด้วย 5) สุขภาพของผู้รับเชื้อ หากคุณเป็นคนที่มีสุขภาพแข็ง แรงอยู่แล้ว โอกาสที่จะติด เชื้ อก็ เป็นไปได้ยาก แต่หากสุขภาพอ่อนแอ ก็มีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายเช่นกัน 2.2.4 ระยะของโรคเอดส์ โดยทั่วไป เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อเอดส์เข้าสู่ร่างกายแล้ว การแสดงอาการของ โรคที่ปรากฎจะแบ่งได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้ 1) ระยะไม่ปรากฏอาการ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระยะติดเชื้อไม่ปรากฏอาการ ในระยะนี้ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อนั้นจะไม่ปรากฏอาการผิดปกติใด ๆ ให้เห็น จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรงปกติ แต่ อาจจะมีอาการป่วยเล็กน้อย โดยเฉลี่ยนั้น จากระยะแรกเข้าสู่ระยะที่ 2 จะใช้เวลาประมาณ 7 – 8 ปี แต่ในบางรายอาจไม่มีอาการอยู่ได้นานถึง 10 ปี จึงทาให้ผู้ที่ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อให้บุคคลอื่นได้ เพราะว่าผู้ที่ติดเชื้อเอดส์ส่วนใหญ่ในระยะแรก ก็ยังไม่ทราบว่าตัวเองนั้นติดเชื้อแล้ว 2) ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์เราเรียกระยะนี้ว่า ระยะปรากฏอาการ ในระยะนี้จะตรวจพบ ผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติปรากฏให้เห็นได้ เช่น ต่อมน้าเหลืองโตติดต่อกันนานหลายเดือน มีเชื้อ ราบริเวณในปาก โดยเฉพาะกระพุ้งแก้ ม และเพดานปาก เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม มีอาการ เจ็บป่วยเรื้อรัง โดยไม่ทราบสาเหตุเกิน 1 เดือน เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้าหนักลด และอื่น ๆ ใน ระยะนี้อาจมีอาการอยู่เป็นปี ก่อนพัฒนาลุกลามกลายเป็นเอดส์เต็มขึ้นในระยะต่อไป 3) ระยะเอดส์เต็มขั้นหรือระยะโรคเอดส์ ในระยะนี้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะถูกทาลายลง ไปเยอะมาก ซึ่งทาให้เป็นโรคต่าง ๆ ได้ง่าย เพราะเชื้อโรคสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น และร่างกายก็ไม่ สามารถขจัดเชื้อโรคเหล่านี้ออกไปจากร่างกายได้ ซึ่งมีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับว่าติดเชื้อชนิดใด และเกิดกับ อวัยวะส่วนใดในร่างกาย หากติดเชื้อวัณโรคที่ปอด อาการที่พบจะมีไข้เรื้อรัง ไอเป็นเลือด แต่ถ้าเป็นเยื้อ หุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ จะมีอาการปวดศีรษะอย่างรวดแรง อาเจียน คอแข็ง คลื่นไส้ และถ้าเป็นอาการที่ 19 เกี่ยวกับระบบประสาท ก็จะมีอาการซึมเศร้า แขนขาอ่อนแรง ความจาเสื่อม ซึ่งพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์ใน ระยะสุดท้ายนี้ จะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1 – 2 ปีเท่านั้น 2.2.5 สาเหตุที่ควรตรวจหาเชื้อเอดส์ ผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยง หรือแม้แต่ผู้ที่ต้องการทราบว่าตัวเองติดเชื้อเอดส์หรือไม่ ผู้ที่ตัดสินใจจะ มีคู่หรือแต่งงาน ผู้ที่สงสัยว่าคู่นอนของตนมีพฤติกรรมเสี่ยง ผู้ที่คิดจะตั้งครรภ์ เพื่อความปลอดภัยของแม่ และตัวเด็ก ผู้ที่จะเดินไปทางานต่างประเทศ เพราะต้องการข้อมูลที่สนับสนุนเรื่องความปลอดภั ยและ สุขภาพร่างกาย 2.2.6 การป้องกันโรคเอดส์ โรคเอดส์เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ เพียงแต่ทาความเข้าใจที่ถูกต้อง และมีหลักปฏิบัติคือ ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธุ์ มีคู่นอนเพียงคนเดียว ก่อนแต่งงาน หรือมีบุตร ควรมีการตรวจ ร่างกาย และตรวจเลือด งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และใช้สารเสพติดทุกชนิด โดยเฉพาะการใช้เข็ดฉีดยา ร่วมกับผู้อื่น 2.2.7 การปฏิบัติตัวสาหรับผู้ป่วยที่ได้รับเชื้อเอดส์ ผู้ที่ติดเชื้อเอดส์นั้น สามารถใช้ชีวิตประจาวันได้อย่างปกติทั่วไป ควรดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ไม่ควรวิตกกังวลมากไป ซึ่งหากไม่พบโรคแทรกซ้อนจะสามารถใช้ชีวิตต่อไปได้อีกหลายปี โดยมีข้อปฏิบัติ ดังนี้ 2.2.7.1 รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารได้อย่างครบถ้วน 2.2.7.2 รักษาสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ 2.2.7.3 หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ หรือหากต้องมีเพศสัมพันธ์ ให้ป้องกันโดยการใช้ ถุงยางอนามัยเสมอ เพราะวิธีนี้จะเป็นการป้องกันการรับเชื้อ และการแพร่เชื้อเอดส์ไปสู่ผู้อื่นได้ 2.2.7.4 ทาจิตใจให้สงบผ่อนคลาย ฝึกสมาธิ ไม่เครียด 2.2.7.5 หากเป็นหญิงไม่ควรตั้งครรภ์ เพราะเชื้อเอดส์สามารถแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูกได้ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ 2.2.8 ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับโรคเอดส์ ในปัจจุบันก็ยังมีความเชื่อที่ผิด ๆ เกี่ยวกับโรคเอดส์หลายประการ โรคเอดส์นั้นเป็นโรคที่ไม่ สามารถติดต่อได้จากการสัมผัส ไม่สามารถติดต่อกันผ่านการกอด หรือการสัมผัสภายนอกร่วมกัน เช่น การใช้ห้องน้าร่วมกัน หรือใช้อุปกรณ์รับประทานอาหารร่วมกัน นอกจากนี้ เชื้อเอชไอวียังไม่สามารถติดต่อ ผ่ า นลมหายใจ หรื อ ผ่ า นอากาศ ดั ง เช่ น ไข้ ห วั ด และไม่ ไ ด้ ติ ด ต่ อ ผ่ า นพาหะน าโรค เช่ น ยุ ง โดยทั่วไปแล้วสาเหตุหลัก ๆ ของการติดเชื้อเอดส์นั้น เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย และมีข้อมูล ยืนยันชัดเจนว่า กว่า 80% ผู้ป่วยจะติดเชื้อเอดส์จากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้รับการป้องกัน 20 2.3 องค์ความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 รูปแบบของสื่อมัลติมีเดีย มัลติมีเดียสามารถจาแนกองค์ประกอบของสื่อต่าง ๆ ได้เป็น 5 ชนิด ประกอบด้วย ข้อความ หรือตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และภาพวิดีโอ แล้วนามาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อใช้สาหรับ การปฏิสัมพันธ์หรือโต้ ตอบ (Interaction) ระหว่างคอมพิวเตอร์กั บผู้ ใช้ซึ่งถื อได้ว่ าเป็นกิ จกรรมที่ ผู้ ใช้ สามารถเลือกกระทาต่อมัลติมีเดียได้ตามต้องการ ตัวอย่างเช่น ผู้ใช้ได้ทาการเลือกรายการและตอบคาถาม ผ่านทางจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นระบบคอมพิวเตอร์ก็จาทาการประมวลผลและแสดงผล ลัพธ์ย้อนกลับผ่านทางจอภาพให้ผู้ใช้เป็นอีกครั้งเป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเครื่องมื อและ รูปแบบที่จะนามาประยุกต์ใช้งาน ตัวอย่างเช่น การสร้างปุ่มเมนูหรือข้อความที่มีสีแตกต่างจากข้อความ ปกติ เมื่อผู้ใช้มีปฏิสัมพันธ์กับส่วนนี้ ระบบก็จะเชื่อมโยงไปยังส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่งอาจเป็นไปได้ทั้ ง ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงหรือวิดีโอ ตามที่ได้มีการออกแบบไว้ล่วงหน้าแล้ว ดังนั้น จึงถือได้ ว่าการปฏิสัมพันธ์ในมัลติมีเดียเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสาคัญไม่น้อยไปกว่าส่วนอื่น ๆ สาหรับหัวข้อย่อยของ เนื้อหาส่วนนี้ประกอบด้วย (กิติมา เพชรทรัพย์, 2560) 2.3.1.1 ข้อความหรือตัวอักษร (Text) ข้อความหรือตัวอักษรถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่ สาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่านจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบ และสีของตัวอักษรให้เลือกมากมายตามความต้องการแล้วยังสามารถกาหนดลักษณะของการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ) ในระหว่างการนาเสนอได้อีกด้วย ภาพที่ 2.2 ข้อความในโปรแกรม Notepad และ Microsoft Word (ที่มา : thaigoodview.com, 2561) 21 ข้อความ เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนื้อหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด หรือเนื้อหาของ เรื่องที่นาเสนอซึ่งปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ ได้แก่ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทั่วไป ได้จากการพิมพ์ด้วย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor) เช่น Notepad Text Editor Microsoft Word โดยตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII ข้อความจากการสแกน เป็นข้อความในลักษณะภาพ หรือ Image ได้ จากการน าเอกสารที่ พิ มพ์ ไว้ แล้ ว(เอกสารต้ นฉบั บ) มาท าการสแกน ด้ วยเครื่ องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะได้ผลออกมาเป็นภาพ (Image) 1 ภาพ ปัจจุบันสามารถแปลงข้อความภาพ เป็นข้อความปกติ ได้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ เป็นข้อความที่พัฒนาให้อยู่ในรูปของสื่อ ที่ใช้ประมวลผล ได้ ข้ อความไฮเปอร์ เท็ กซ์ (Hypertext) เป็ นรู ปแบบของข้ อความที่ ได้ รั บความนิ ยมสู งมาก ในปั จจุ บั น โดยเฉพาะการเผยแพร่เอกสารในรูปของเอกสารเว็บ เนื่องจากสามารถใช้เทคนิค การลิงก์ หรือเชื่อมข้อความ ไปยังข้อความ หรือจุดอื่น ๆ ได้ (กิติมา เพชรทรัพย์, 2560) 2.3.1.2 ภาพนิง่ (Still Image) ภาพที่ 2.3 ภาพนิ่งที่ถ่ายจากกล้อง Canon EOS 80D (ที่มา : snapshot.canon-asia.com, 2560) ภาพนิ่งเป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเส้น เป็นต้น ภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อระบบงานมัลติมีเดียมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร ทั้งนี้เนื่องจากภาพจะให้ผลใน เชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วยการมองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอดความหมายได้ลึกซึ่งมากกว่า ข้อความหรือตัวอักษรนั่นเองซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัดทางด้านความแตกต่างของแต่ละภาษา แต่ ภาพนั้นสามารถสื่ อความหมายได้กั บทุ กชนชาติ ภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่ บนสื่อชนิ ดต่ าง ๆ เช่นโทรทั ศน์ หนังสือพิมพ์หรือวารสารวิชาการ เป็นต้น (กิติมา เพชรทรัพย์,2560) 22 2.3.1.3 ภาพเคลื่อนไหว (Animation) ภาพที่ 2.4 แสดงแอนิเมชันการเคลื่อนไหวของเด็กชาย (ที่มา : http://webneel.com/walk-cycle-animation, 2561) ภาพเคลื่อนไหว หมายถึง ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือปรากฏ การณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของอะตอมในโมเลกุล หรือการเคลื่อนที่ของลูกสูบของ เครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้ โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้างเกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้พื้นที่ในการ จัดเก็บมากกว่าภาพนิ่งหลายเท่านั่นเอง (กิติมา เพชรทรัพย์,2560) 2.3.1.4 เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่ง ที่ ส าคัญ ของมั ลติ มีเ ดีย โดยจะถู ก จัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถเล่นซ้ากลับไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียงหากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เ ร้าใจและสอดคล้องกับ เนื้อหาในการนาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้นเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยัง ช่วยสร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมีอิทธิพล ต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งนั่นเอง ดังนั้นเสียงจึงเป็นองค์ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถนาเข้าเสียงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และวิทยุ เป็นต้น ประเภทของเสียง แบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทคือ (กิติมา เพชรทรัพย์,2560) 23 1) มีดี้ (MIDI : Musical Instrument Digital Interface) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะที่ แทนเครื่องดนตรีชนิดต่าง ๆ ซึงเป็นมาตรฐานในการสื่อสารด้วยเสียง และพัฒนาสาหรับใช้กับเครื่องดนตรี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ ค.ศ. 1980 เช่น สร้างเสียงตามตัวโน้ต และ ปรับแต่งเสียง ตามมุมมองของนักดนตรี มีดี้ หมายถึง โน้ตเพลงที่มีรูปแบบเป็นสัญลักษณ์ หรือตัวเลข ข้อดี ไฟล์มีดี้มีขนาดเล็ก ง่ายต่อการแก้ไขและปรับปรุง ข้อเสียเป็นเสียงที่เกิดจากตัวโน้ตดนตรี และเครื่องดนตรีที่ ใช้เล่นมีราคาสูง (กิติมา เพชรทรัพย์,2560) 2) เสียงแบบดิจิตอล (Digital Audio) เป็นสัญญาณเสียงที่ส่งมาจากไมโครโฟน เครื่องเลน เทป หรือจากแหล่งกาเนิดเสียงต่าง ๆ เสียงแบบดิจิตอลจะมีขนาดของข้อมูลใหญ่ แสดงผลได้หลากหลายและ เป็นธรรมชาติกว่า Midi เสียงที่พบบ่อยจะอยู่ในช่วงความถี่ 44.1 KHz 22.05 KHz และ 11.025 KHz เป็นต้น (กิติมา เพชรทรัพย์, 2560) 2.3.1.5 วีดีโอ (Video) ภาพที่ 2.5 วิดีโอที่เปิดด้วยโปรแกรม Windows Media Player (ที่มา : screenshots-archive.com, 2561) วิดีโอเป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวิดีโอใน ระบบดิจิตอลสามารถนาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์ มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดี โอในระบบมั ลติมี เดียก็คื อการ สิ้นเปลืองทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้น จริง (Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ต่ากว่า 30 ภาพต่อวินาที (Frame/Second) ถ้าหาก การประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่านกระบวนการบีบอัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1 นาที อาจต้ องใช้ หน่ วยความจ ามากกว่ า 100 MB ซึ่ ง จะท าให้ ไ ฟล์ มี ขนาดใหญ่ เกิ นขนาดและมี ประสิทธิภาพในการทางานที่ด้อยลง ซึ่งเมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยี ที่สามารถบีบอั ดขนาดของภาพอย่ าง ต่อเนื่องจนทาให้ภาพวิดีโอสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและกลายเป็นสื่อที่มีบทบาท สาคัญต่อระบบมัลติมีเดีย (กิติมา เพชรทรัพย์, 2560) 24 1) Video file format เป็ นรู ปแบบที่ ใช้ บั นทึ กภาพและเสี ยงที่ สามารถท างานกั บ คอมพิวเตอร์ได้เลยมีหลายรูปแบบเช่น - Quick Time ไฟล์วีดีโอรูปแบบหนึ่งที่พัฒนาโดยบริษัท Apple จะนามาใช้กับงานด้าน มัลติมีเดีย และเว็บไซต์เป็นส่วนใหญ่ทั้งนี้ต้องติดตั้ง Plug In ไว้ที่เว็บเบราเซอร์ ก่อนที่จะนาไฟล์มัลติมีเดีย ประเภท นอกจากนี้ยังเป็นรูปแบบที่เครื่อง Mcintosh สามารถนาเสนองานรูปแบบนี้ได้ดีอีกด้วย ในปัจจุบัน เป็นไฟล์ Video ที่เป็นไฟล์หลักของโปรแกรม QuickTime และอยู่คู่กับระบบปฏิบัติการ MAC OS แต่ก็ยัง สามารถทางานร่วมกับ Windows ได้อีกด้วย - AVI เป็นไฟล์วีดีโอเช่นเดียวกัน โดยฟอร์แมตนี้จะถูกใช้งานบนเครื่อง พีซี เช่น เมื่อ โหลดภาพจากกล้องวีดีโอเข้ามาที่เครื่องคอมก็จะต้องทาเป็นฟอร์แมต AVI ข้อเสียของมันก็คือขนาดใหญ่มาก ไฟล์วีดีโอแค่ 1 นาที อาจจะต้องใช้พื้นที่เก็บประมาณ 5–10 MB มักจะนาไฟล์รูปแบบนี้ไปใช้หรือท าการ แปลงเป็นไฟล์รูปแบบอื่น ๆ เช่น Quick Time MPEG และอื่น ๆ ได้อีกด้วยคุณภาพของการแปลงไฟล์ ภาพ และเสียงจะแตกต่ างกันเล็กน้อย ปัจจุบันเป็นมาตรฐานไฟล์ทั่วไปส าหรับทุ กอุปกรณ์ที่ สามารถเล่ นไฟล์ Video ซึ่ง AVI จะบีบอัดข้อมูลน้อย ทาให้ภาพและเสียงคมชัดแต่ไฟล์จะขนาดใหญ่ ขนาดของไฟล์จะขึ้นอยู่ กับการกาหนดของผู้แปลงไฟล์ หรือ เครื่องมือในการจัดการภาพ วิดีโอ - MPEG (Motion Picture Expert Group) เป็นรูปแบบของการบีบอัดไฟล์ข้อมูลเสียง หรือไฟล์ วีดีโอให้มีขนาดเล็กลง มักจะใช้ในการสร้างแผ่น Video CD – VCD SVCD DVD หรือ Karaoke (ไฟล์ ที่มีนามสกุล *.mpg) จะต้องเปิดด้วยโปรแกรมเฉพาะอย่างเช่น Power DVD เป็นฟอร์แมตหนึ่งที่ได้รับความ นิยมมากที่สุดขนาดเล็กและมีคุณภาพที่หลากหลาย มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นรูปแบบต่าง ๆ คือ - MPEG 1 เป็นไฟล์ Video ที่เหมาะสาหรับใช้เป็นไฟล์พื้นฐาน ที่จะนาไปสร้างเป็นแผ่น ภาพยนตร์ VCD มีความละเอียดภาพปานกลาง - MPEG 2 เป็ นไฟล์ Video ที่ มี คุ ณภาพสู ง มี ความคมชั ดของภาพในระดั บดี เป็ น ต้นฉบับในการนาไปสร้างเป็นแผ่น DVD - MPEG 3 เป็นมาตรฐานไฟล์เสียงที่เรารู้จักกันในนามของไฟล์ *.MP3 MPEG 4 เป็น ไฟล์ที่ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น 25 - WMV (Windows Media Video) เป็นไฟล์ Video ที่ Microsoft พัฒนาขึ้นเพื่อใช้กับ ระบบปฏิบัติการ Windows และเป็นมาตรฐานไฟล์ติดมากับโปรแกรม Windows Media Player - Divx เป็นรูปแบบการบีบอัดไฟล์ Video รูปแบบหนึ่งเนื่องจากไฟล์มีขนาดเล็กและ คุณภาพของภาพอยู่ในระดับ ดีมาก (ประมาณ DVD เป็นขั้นต่า) โดย DivX เป็นรูปแบบวิดีโอที่ได้จากกการบีบ อัด เราเรียกไฟล์ฟอร์แมตที่นามาบีบอัดและทามาเป็น DivX ว่า MPEG4 นั่นเอง - XviD มี รู ปแบบการบี บอั ด Video ที่ คล้ ายกั บ DivX แต่ ต่ างกั นที่ XviD เป็ น แบบ Open Source หรือเป็นของฟรี สามารถนาไปพัฒนาต่อได้ ไฟล์ Video ทั้งแบบ DivX และ XviD นั้นจะมี นามสกุล .AVI โดยการเล่นไฟล์ Video บนเครื่องนั้นจาเป็นต้องติดตั้งโปรแกรมเสริมสาหรับการเข้ารหัส - Video Codec (สามารถ Download ได้จาก www.divx.com และ www.xvid.com หรือหาCodec แบบ รวมอย่างเช่น K-Lite Mega Codec) - DAT ไฟล์ใน Video-CD: VCD จะมีไฟล์รู ปแบบหนึ่งที่ มีนามสกุ ล *.dat ซึ่งจะเป็ น เป้าหมายหนึ่งของการแปลงไฟล์ภาพยนตร์รูปแบบอื่น ๆ ไปเป็นรูปแบบของ VCD จัดว่าเป็นไฟล์ประเภท MPEG ซึ่งจะเปิดรูปแบบนี้ได้ทั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องเล่น VCD (เราสามารถเข้าไปในแผ่น VCD และ หาไฟล์ *.DAT ซึ่งเป็นตัวไฟล์ที่เก็บเนื้อหาของภาพยนตร์ เราสามารถ Rename ไฟล์ให้เป็น *.mpg ได้ เลย) - FLV (*.flv) เป็น Format ของไฟล์วิดีโอชนิดหนึ่ง ซึ่งมาจากโปรแกรม Adobe Flash เป็นวิดีโอที่ใช้ในไฟล์ Flash (*.swf) YouTube ก็ใช้ FLV วิดีโอในการฉายวิดีโอ (กิติมา เพชรทรัพย์,2560) 2) Frame Rate คือ ความเร็วในการแสดงภาพ มีหน่วยเป็น ภาพต่อวินาที ซึ่งจะเรียกว่า Frame Rate โดยความเร็วในการแสดงภาพทาให้เกิดภาพเคลื่อนไหวนั้น อย่างน้อยจะต้องมี Frame Rate ประมาณ 7-10 ภาพ ต่อวินาที (fps ย่อมาจาก Frame Per Second) ซึ่งภาพยนตร์การ์ตูนสมัยก่อนจะใช้ ภาพต่อเนื่องแสดงการเคลื่อนไหวอยู่ประมาณ 12 เฟรม ต่อวินาที (12 fps) ซึ่งต่อมาในปัจจุบัน Frame Rate จะเพิ่มขึ้นเป็น 25 fps เป็นอย่างต่า นอกจากนั้นยังขึ้นอยู่กับการกาหนด (กิติมา เพชรทรัพย์, 2560) 26 2.3.1.6 ระบบโทรทัศน์ในปัจจุบัน ระบบโทรทั ศน์ ในปั จจุ บั นนั้ นมี หลายขนาดภาพแตกต่ างกั นมากมาย ซึ่ งเรี ยกว่ า Resolution คือ ความละเอียดของภาพ หรือ อัตราส่วนการแสดงผลของหน้าจอ ซึ่งหากความละเอียดของ ภาพยิ่งมาก ความคมชัดของภาพหรือวิดีโอนั้นก็จะยิ่งดีขึ้นตามมา ภาพที่ 2.6 เปรียบเทียบอัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐานต่าง ๆ (ที่มา : http://dtv.mcot.net, 2554) XGA (Extended Graphics Array) คือคาที่เรียกการแสดงผลของจอภาพคอมพิวเตอร์ (Monitor Computer) ย่อมาจาก Extended Graphics Array (แปลว่าขบวนปรับภาพแบบขยาย) เป็น ชนิดจอ LCD หรือ LED มีหลายมาตรฐาน คือ 1) VGA (Video Graphics Array) - VGA คือ ขนาดภาพ 640x480 พิกเซล (4:3) 2) SVGA (Super Video Graphics Array) - SVGA คือ ขนาดภาพ 800x600 พิกเซล (4:3) - XGA คือ ขนาดภาพ 1024x768 พิกเซล (4:3) 3) SXGA (Super Extended Graphics Array) - SXGA คือ ขนาดภาพ 1280x1024 พิกเซล (4:3) - SXGA+ คือ ขนาดภาพ 1400x1050 พิกเซล (4:3) 27 4) UXGA (Ultra Extended Graphics Array) - UXGA คือ ขนาดภาพ 1600x1200 พิกเซล (4:3) 5) W เรียกว่า Wide Screen (จอกว้าง) - WVGA คือ ขนาดภาพ 840x480 พิกเซล (16:10) - WXGA คือ ขนาดภาพ 1280x800 พิกเซล (16:10) - WXGA+ คือ ขนาดภาพ 1440x900 พิกเซล (16:10) - WSXGA คือ ขนาดภาพ 1680x1050 พิกเซล (16:10) - WUXGA คือ ขนาดภาพ 1920x1200 พิกเซล (16:10) HDTV (High Definition Television) มีชื่อเรียกอย่างเป็ นทางการว่ า "โทรทัศน์ ความ คมชัดสูง" หรือ "โทรทัศน์รายละเอียดสูง" หรือเรียกสั้น ๆ ว่า HDTV เป็นคาสั้น ๆ ที่แสดงให้เห็นถึงการแสดง ภาพวิดีโอ โดยเลข 1080 หมายถึง จานวนความละเอียดของเส้นในแนวนอน 1,080 เส้น และตัวอักษร p ย่อ มาจาก Progressive Scan หรือ non-interlaced ในขณะที่ i ย่อมาจาก interlaced ปัจจุบันทั้ง 1080i และ 1080p เป็นฟอร์แมตความละเอี ยดสู งสุ ด ที่ใช้กันทั่ วไปในการแพร่ภาพโทรทั ศน์ และการเก็ บภาพวิ ดี โอ (ศูนย์แพร่กระจายสัญญาณดิจิตอล MCOT, 2560) ภาพที่ 2.7 แสดงลักษณะของ HDTV แบบ 1080p (ที่มา : http://dtv.mcot.net, 2554) 28 ดังนั้น 1080p จึงเป็นสัญญาณภาพแบบ HDTV โดยมีการรับส่งสัญญาณภาพในแบบจอ กว้างหรือไวด์สกรีน (Widescreen) อัตราส่วน 16:9 นั่นหมายความว่า ความละเอียดของการแสดงจะผลอยู่ที่ 1920 จุดในแนวนอน และมีความละเอี ยด 1080 จุดในแนวตั้ง รวมเท่ ากั บ 1920 x 1080 หรือเท่ ากั บ 2,073,600 พิกเซล (2Mpixel หรือ 2 ล้านพิกเซล) 1) WXGA (HD-Ready) คือ ขนาดภาพ 1366x768 พิกเซล (16:9) WSVGA (Full HD) คือ ขนาดภาพ 1920x1080 พิกเซล (16:9) คาว่า Full HD และ HD-Ready มีความหมายอย่างไร Full HD หมายถึงการแสดงผลของจอภาพโทรทัศน์ที่ให้รายละเอียดจานวนของเส้นในแนวนอนเท่ากับ 1,080 เส้น ทั้ง แบบ 1080i และ 1080p ถือว่าเป็นแบบ Full HD สาหรับจอแสดงภาพในแนวนอนเท่ากับ 1,080 เส้น นั่นคือ เป็นคาจากัดความของจอภาพแบบ Full HD จะแสดงผลทางแนวตั้งและแนวนอน เท่ากับ 1920x1080 จุด ซึ่ง เท่ากับ 2,073,600 พิกเซล (2Mpixel หรือ 2 ล้านพิกเซล) นั่นเอง 2) HD Ready คานี้จะใช้สาหรับจอภาพที่มีความละเอียดต่ากว่า Full HD ไม่ว่าจะเป็น ขนาดภาพ 1366x768 หรือ 1024x768 หรือ 1280x720 สาหรับจอภาพโทรทัศน์ที่โฆษณาว่าเป็น HD Ready นั้นจะรองรับการนาเข้า input HDMI รับสัญญาณภาพจากเครื่องเล่นที่เป็น Full HD (1080i หรือ 1080p) เช่น เครื่องเล่น Blu-ray มีขนาดภาพ Full HD 1920x1080 (pixels) ส่งต่อสัญญาณภาพให้โทรทัศน์ที่มีขนาด จอภาพเป็น HD เพียง 1280x720 (pixels) เครื่องรับโทรทัศน์จะทาการ Down Scale ให้เหลือแค่ Native Resolution ให้แสดงผลเท่าที่จอภาพของมันจะทาได้เท่านั้น คือจากขนาดภาพ 1920x1080 pixels (1,080 เส้น) เหลือเพียงขนาดภาพ 1280x720 (720 เส้น) เหมือนว่ารองรับสัญญาณภาพ Full HD 1920x1080 (1,080 เส้น) แต่จริง ๆ แล้วแสดงผลบนจอภาพโทรทัศน์เพียง 1280x720 (720 เส้น) เท่านั้น จึงเรียกว่า HD- Ready (แปลว่า พร้อมสาหรับ HD แต่ไม่ใช่ Full HD) ตามมาตรฐานของญี่ปุ่น ยอมรับว่ าการแสดงผลแบบ 1080p ถือว่าเป็น Full HD แต่ สาหรับการแสดงผลแบบ 1080i แค่ยอมรับได้ว่าเป็น HD แต่ทางอเมริกากาหนดว่าการแสดงผลแบบ 1080i และ 1080p เป็นแบบ Full HD ส่วนการแสดงผลแบบ 720p ที่มีจานวนเส้นในแนวนอน 720 เส้น แบบ Progressive Scan นั้นเป็นเพียง HD ธรรมดา (แต่ญี่ปุ่นไม่ยอมรับว่า 720p เป็น HD เพราะประเทศญี่ปุ่ นมี มาตรฐานสูงและเป็นผู้พัฒนาระบบ HD เป็นประเทศแรก เขายังกล่าวว่าสามารถผลิตภาพที่มีความคมชัดสู ง มากกว่านี้ ที่เรียกว่า Super Vision Television) ส่วนภาพขนาด 720i (720 เส้น แบบ interlaced) ไม่ถือว่า เป็น HD แต่เป็นแบบ EDTV (Extended Definition Television) ระดับภาพแบบมาตรฐานของเครื่องเล่ น DVD หรือ HD-DVD สรุปตามขนาดการแสดงภาพแบบ HD ซึ่งเป็นสัญญาณภาพที่มีขนาดใหญ่ที่สุดได้ว่า 29 - ขนาดภาพแบบ Full HD เท่ากับ 1,920 x 1,080 pixels = 2,073,600 พิกเซล - ขนาดภาพแบบ HD เท่ากับ 1,280 x 720 pixels = 921,600 พิกเซล (ไม่ใช่ Full HD) - อัตราส่วนของจอภาพ สาหรับ HD คือ ขนาดความกว้าง x ความสูง เป็น 16 ต่อ 9 (16:9) ซึ่งเปรียบเทียบค่าได้จากการนาค่าของความกว้างกับความสูงมาหารกัน ดังนี้ 1,920/1,080 เท่ากับ 16/9 และ 1,280/720 เท่ากับ 16/9 เหมือนกันนั่นเอง (ศูนย์แพร่กระจายสัญญาณดิจิตอล MCOT,2560) 3) SDTV (Standard Definition Television) โทรทัศน์ระบบอนาล็อกเดิม มีการแสดง ภาพอยู่ 3 ประเภท คื อ NTSC, PAL และ SECAM ซึ่ งการส่ งภาพโทรทั ศน์ นี้ เราเรี ยกว่ า SD หรื อ SDTV (Standard Definition Television) เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า "โทรทัศน์ความชัดเจนมาตรฐาน" ภาพที่ 2.8 มาตรฐานโทรทัศน์ระบบดิจิทัล และการใช้งานทั่วโลก (ที่มา : โทรคมนาคม วิกิพีเดีย, 2561) 4) NTSC (National Television System Committee) เป็นอีกระบบหนึ่งที่มีความนิยม สูง มีความคมชัดที่น้อยกว่าระบบ PAL การเคลื่อนไหวของภาพ จะราบรื่นกว่า (Frame Rate ประมาณ 29.9 เฟรมต่อวินาที) มาตรฐาน NTSC จะนิยมใช้ในประเทศ อเมริกา และ ญี่ปุ่น 30 ภาพที่ 2.9 Test Card ของระบบโทรทัศน์แบบ NTSC (ที่มา : imagemagick.org, 2561) - PAL (Phase Alternate Line) เป็นระบบที่มีความคมชัดสูง แต่การเคลื่อนไหวของภาพ ไม่ราบรื่นเท่ากับระบบอื่น ความเร็วในการแสดงผล (Frame Rate อยู่ที่ 25 เฟรมต่อวินาที) โทรทัศน์ ที่ ใช้ ระบบ PAL ได้แก่ ประเทศยุโรป แอฟริกาไต้ ประเทศแถบเอเชียบางประเทศ รวมทั้งประเทศไทย (ศูนย์ แพร่กระจายสัญญาณดิจิตอล MCOT, 2560) ภาพที่ 2.10 Test Card PAL plus ของระบบโทรทัศน์แบบ PAL (ที่มา : www.youtube.com/watch?v=f_3Kt1t82sk, 2561) - SECAM (Sequential Color and Memory) เป็นระบบที่นิยมใช้ในแถบแอฟริกาเหนือ และโซนทวีป ตะวันออกกลาง และ ฝรั่งเศส การแสดงผลอยู่ในระดับกลาง (Frame Rate ประมาณ 25 เฟรม ต่อวินาที) มีความคมชัดสูง และมีการเคลื่อนไหวที่ราบรื่นกว่า ระบบ PAL (ศูนย์แพร่กระจายสัญญาณดิจิตอล MCOT, 2560)
Enter the password to open this PDF file:
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-